พยัญชนะสังโยคในภาษาไทย ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้า 12
หน้าที่ 12 / 197

สรุปเนื้อหา

ในข้อความนี้ เป็นการประมวลปัญหาและอธิบายเกี่ยวกับพยัญชนะสังโยคในภาษาไทย โดยเน้นถึงวิธีการซ้อนพยัญชนะและโครงสร้างของพยัญชนะในวรรคต่าง ๆ การพิจารณาและการจัดเรียงของพยัญชนะนี้มีความสำคัญในการทำความเข้าใจการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยเฉพาะการซ้อนหน้าพยัญชนะที่ซ้อนกัน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างพยัญชนะและสระที่เกิดขึ้นในวรรค ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจโครงสร้างของภาษาไทยได้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-พยัญชนะสังโยค
-การซ้อนพยัญชนะ
-ไวยากรณ์ภาษาไทย
-โครงสร้างพยัญชนะ
-การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ประมวลปัญหาและเล่ามาบังไว้อย่างนี้ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 10 [ พยัญชนะสังโยค ] ก. พยัญชนะ เช่น เรียกว่าพยัญชนะสังโยค จงอธิบายถึงวิธีที่อาจเป็นได้เพียงไร ? ค. พยัญชนะที่ซ้อนกันเรียกว่าพยัญชนะสังโยค วิธีที่อาจเป็นได้ นั้นคือ พยัญชนะที่ 1 ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ 2 และ 2 ในวรรค ของตนได้, พยัญชนะที่ 3 ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ 3, และ 4 ในวรรค ของตนได้, พยัญชนะที่ 4 ซ้อนหน้าพยัญชนะในวรรคของตน ได้ทั้ง 5 ตัว เว้นแต่ตัว law หนึ่งเดียว ซ้อนหน้าตัวเอง ไม่ใด้, ล ๕ ซ้อนหน้าตัวเองได้, นอกจากนึ่งยังมีอีก แต่ท่านไม่ได้ วางระเบียบไว้แน่นอน. [ ๒๔๕๗ ] ข. ลักษณะที่ประกอบพยัญชนะซ้อนกันได้มัน เป็นอย่างไร ? พยัญชนะ which เหตุใดจึงได้สนิทวิธีโยกันแต่เพียง ๕ ? และเหตุใด สระสนิทจึงมีสนิทวิธีรายปรกะนี้ไป ? ค. ลักษณะที่จะประกอบพยัญชนะซ้อนกันได้มัน ดังนี้ ใน พยัญชนะวรรคหลาย พยัญชนะที่ 1 ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ 1 และ ที่ 2 ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ 3 ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ 3, และ ที่ 4 ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ 5 สุจรณซ้อนหน้าพยัญชนะใน วรรคของตนได้ทั้ง 5 ตัว ออกเสียแต่ตัว ง ซึ่งเป็นตัวสะกดอย่างเดียว มิได้สำเนียงในภาษาบาลี ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้, พยัญชนะวรรคที่ ซ้อนกันดังนี้ดีดี ตัว ง ส ซ้อนกัน 2 ตัวก็ ไม่มีสนิทวิธี, ตัวหน้ามีตัวสะกดของสระอยู่หน้านน ไม่ออกเสียงผสมด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More