ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและถ่ายทอดไว้รายการ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 178
แม่นำว่า ทั้งเป็นหลักสำคัญในการแปล คือว่า ถ้าสพนามในวิเคราะห์
โธนามนามใด พึงทราบเกิดว่า นามนามนั้น เป็นประธานแห่ง
สารณะ สัพพนามที่เป็นประธานแห่งสาระ จะต้องโอนนามนามให้
ตรงกับสพนามในวิเคราะห์ โอเคเสไปทุกๆ สถานที่ซึ่งมิใช้งั้น
นาม ตัวอย่าง เช่น พนฐิติ เตมาณ [ ต. ] ในวิเคราะห์
นี้ เตน โอ ค วดุต, ดิ ซึ่งเป็นตัวประธานของ พนฐู ซึ่งเป็น
ศัพท์สารณะ ก็ต้องโอน วัดุ ในตรงกัน แปลว่าอย่างนี้ [ บุคคล ]
ย่อมผูก ด้วยวัตถุนั้น เหตุุ่นนั้น [ วัตถุนั้น ] อีกว่า เป็นเครื่องผูก
[ ของบุคคล ] ถ้าสพนามโอนนามนามไม่ตรงกันแล้ว ความก็เสีย
หมด ใช้ไม่ได้เลยทีเดียว จะต้องระวังให้มากในการแปล. [ อ. น. . ]
อ. ยาโก เป็นชื่อของสักการะ เป็นสารณะอะไร ? เป็นชื่อของ
พระพุทธเจ้า เป็นสารณะอะไร ? ดังวิเคราะห์มุดดู
อ. เป็นชื่อของสักการะ เป็น กรณสารณะ วิกระยะว่า ชติฑ โพธิยาโก.[ ๒๔๓๗ ] .
ถ. สนธิ ความต่อ, ความเสรี ความเบื่อ ตั้งวิเคราะห์อย่างไร ?
บอกตำปูใจด้วย.
ฎ. สนธิ วิเคราะห์ว่า สนธนี สนุ, สัน หน้ า ธา ฉาด
อิปัจจย์ นามกิตต์, สมไฺล วิกระยะว่า สนฺสน นามไฺล, สัน บา
หน้า วส ธ ฤฏ ณ ปัจจุบันนามกิตต์.[ ๒๔๓๖ ] .
ถ. เหนียู ปัจจโย อุปว่า เป็นศัพท์อะไร ? ศัพท์ไหน