ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและฉายาบูลไวยากรณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 81
ค. วิธีตั้งนี้ก่อนจะวิเคราะห์ ต้องแยกศัพท์สมุนนี้ออก
บทหน้าจะต้องเป็นอุปสรรคหรือบาปเสมอไป บทหลังเป็นนามหรือ
กิริยานาม ให้บบทหลังนั้นตั้งองค์ประกอบด้วยอุปสรรควิภาคิต
ก่อน แล้วหาพยางค์ ซึ่งมีความตรงกับอุปสรรคหรือบาปนั้นมาดั้ง
ลงถ่องข้างหลัง เช่น วิเคราะห์ว่า นครสุข+สมัย = อุปสรรค, สมัย
แปลว่าใกล้ ๆ เหมือน อุป จึงใช้นเทอ อุปได้, ชีวิตสุข ยุตโก โปริฉโน
ยาวชีวิต กำหนดเพียงใดแห่งชีวิต ช่อ เพียงไรแห่งชีวิต ยุตโก
แปลว่าเพียงใด เหมือนยาว จึงให้เทอ ยาว ได้.
ศัพท์ที่ใช้แทนอุปสรรคในวิเคราะห์ได้ดังนี้: สมัย แปลว่า ใกล้
ใช้แทน อุป, อวก แปลว่า ไม่มี ใช้แทน นี และ อบ, ศัพท์อื่นนอก
จากนี้ ถ้าได้ความสมับอุปสรรคตัวใด ก็ใช้แทนอุปสรรคตัวนั้นได้.
อีกอย่างหนึ่ง เอูอุปสรรคประกอบข้างหน้าศัพท์กรีธ ซึ้งเป็น
คำกลาง ๆ มีจุดตัด เป็นต้น ส่วนตัวนามมาประกอบไว้ข้างหน้า
ศัพท์กรีธนั้น แตะประกอบเป็นวิภัตอะไรก็แล้วแต่ความ
จะบูรณะ และถ้าศัพท์กรีธาในวิเคราะห์ได้ วิภาระนั้น ท่านให้ติบ
อิค ศัพท์ ซึ่งมีอรรถเป็นเหตุ ค่อท้าิวิเคราะห์ดู วิภาระ ตัว
อย่างเช่น ว่าว+อนุฎุตติ= อนุวติ แปลว่า ตามลมดังนี้.
นิปาตุปถกะนั้น ใช้บาตนำหน้า นิบาตที่ใช้น้ำนี้ มัก
ใช้นบาต ๔ หมวด คือ นิบาตบอกความกำหนด ๑ บอกอุปมา
อุปมัย ๑ บอกที่ ๑ บอกเนื้อความต่าง ๆ แต่ใช้ดูตัวไป.
นิบาตบอกความกำหนด ในวิเคราะห์ใช้ ดูถก เทวด ยาว