ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประวัติปัญหาและลายมาลัยเขียนาทร์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้า 45
ภาษาบาลี ตามวิธีปกติสังขยา ๔๘๕,๒๐๖,๑๔๕.
๓. ตั้งแต่ เอก ถึง อฏิฐนวุติ เป็นคุณนาม แต่ เอก ถึง ฎูฑ
มีวิธีแกอย่างสัปพนาม, เอก ส่งยาไม่มีหายาน ที่มีหายวานะ
เป็นสัปพนาม, ทวิดีดูมีลักษณะเป็นคุณนามแท้ ตั้งแต่ เอกนุต
ไป เป็นนามนาม. ๔๘๐๐ สังขยา จูรสีติสาลุส, ๒๐๘ ว่า
นวุตรทวิติ, ๑๖ ว่า เอกาทสูตรทิพริตุลส, ๔๙ ว่า เอกนุตสติ.
[๒๕๒๙].
๓. จดสโล อสุภ ม้า ๕ ตัว, ดีนิ นบรา ขันธ ๓, ดีลสโล
อิฏกิโย หญิง. ๓ คน, ประกอบศัพท์อย่างนี้ถูกหรือไม่ ? ถ้าถูกก็
แล้วไป ถ้าไม่ถูกจะแก้ให้ถูก.
๓. ๒ ข้อข้างหน้า ไม่ถูก เพราะตัววิสาสะผิดลง คไม่ตรง
ลิงค์ของนาม ที่ถูกต้องประกอบดังนี้ จดกโร อสุภ, ดูโย
นบรา. ส่วนข้อที่ ๓ นนั้น ถูกแล้ว.[อ.น.].
๓. ปกติสังขยา ก็เป็นการนับ ปรุงสังขยา ก็เป็นการนับ.
นับอย่างไร เป็นปกติสังขยา ? นับอย่างไร เป็นปรุงสังขยา ?
๓. การนับเป็นปกติ เป็นดังว่า๑,๒,๓,๔,๕ สำหรับนับ
นามนามให้รู้ว่ามีประมาณเท่าใด ชื่อว่า ปกติสังขยา, การนับเป็น
ชั้น ๆ สำหรับนามนามที่เต็มในนั่น ๆ เป็นดังว่า ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ชื่อว่า ปรุสังขยา.[๒๔๕].
๓. ปกติสังขยา กับ ปรุงสังขยา ต่างกันอย่างไร ? องอธิบาย
ความสังเกต ทั้งศัพท์ในภาษาบาลีและในภาษาไทย ?
*๑ เอกสูตรฤฏุตรัสติ อ.น.*