ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและถ่ายทอดวิทยาการ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้าที่ 55
ค. เอต แปลว่า นั่น ย่อมแสดงถึงนามนามที่อยู่ใกล้คู่กับผู้พูด, อม ย่อมแสดงถึงนามนามที่อยู่ไกลคู่กับผู้พูด, อมย่อมแสดงถึงนามนามที่อยู่ห่างไกลมาก. [อ.น.].
[อัพยศศัพท์]
ค. อัพยศศัพท์ ท่านแบ่งไว้กี่พวก ? ใช้ต่างกันอย่างไร ?
ค. แบ่งไว้ 3 จำพวก คือ อุปสรรค นิยม ปัจจัย. อุปสรรคคนนั้น สำหรับใช้นามนามและกริยาไว้เศษขึ้น, นิยมคนนั้น สำหรับลงในระหว่างนามศัพท์บาง กริยาศัพท์บาง บอกลากนะ กาล ที่ ปรินาท เป็นต้น, ปัจจัยนั้น สำหรับลงท้ายมนามบ้าง สัพนาม บ้าง เป็นเครื่องหมายวิเศษ, ลงท้ายชาดา เป็นเครื่องหมายวิริยะ.
[๒๕๕].
ค. ในจำพวกอัพยศศัพท์ มีศัพท์อะไรบ้าง หรือไม่ ? ที่ประกอบด้วยวิวัติตนามแล้ว เปลี่ยนแปลงรูปไปต่าง ๆ ได้ ? ถ้ามี จงแสดงพร้อมด้วยตัวอย่าง.
ค. มีเช่น ก็ อาจิณ เป็นต้น ก็ ท่านสงเคราะห์บ้านนอก อนุสัณห์นาม แถ้วยวิตักดีในใตรลิงค์ เช่น โก อิลสมุ จงศ์กุศล อุจฺฉนามยา เส, อุปจ. ท่านใช้เป็นนามนาม ประกอบด้วยวิวัตติในใตรลิงค์ เช่น อุจฺโจ รุกโถ, อุจฺเจ รุกฺณ สุญฺนา.
[๒๕๔๕].
ก. ก็ อุจฺจ ซึ่งเข้าใจว่าไม่ใช่พวกอัพยศศัพท์ เป็นพวกนามศัพท์ เพราะแจกตามวิวัติตั้ง ๓ ได้. ศัพท์พวกอัพยศศัพท์บางตัว ถ้าจะแจกตามวิวัติตั้ง ๓ ต้องเติม ก็ จะแจกเฉย ๆ ไม่ได้. [อ.น.].