ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและแหล่งลำลายวิเวารณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้าที่ 135
จุดทุทสัย-อุปทิสติ = จุดทุทส โส. ที่เป็นวิสเนสของ ชโน ดังนี้:
จุดทุทสษี + ชาโตติ = จุดทุทส โส ณ ปัจฉัย. [อ.น.].
[ อายตต ]
ณ. คำทับเช่นไร เรียกว่า อายตฺ? มีประโยชน์อย่างไร?
ณ. คำทับที่แสดงกิริยาของนามนาม เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน
เป็นต้น เรียกว่า อายตฺ? มีประโยชน์ให้รู้ว่า นามนามแสดง กิริยาการเป็นเช่นไร, ถ้าไม่มีคำทับวกนี้ ก็จะรู้ชั้นนั้นไม่ได้และ เมื่อต้องการจะแสดงกิริยาของนามนามเหล่านั้น ก็ไม่รู้จะทำอย่างไร การมีคำทับพวกนี้ ย่อมตัดความขัดข้องดังกล่าวแล้วได้ [อ.น.].
ณ. คำท่อายตานี้ จะสมบูรณ์ใช้การได้ ต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง ? หรือสมบูรณ์ได้โดยลำพัง?
ค. ต้องประกอบด้วยเครื่องประกอบ ๔ อย่าง คือ วิทคติ กาลบท วนฺทะ บูรณ ฐาติ จาก ปัจฉัย, จะสมบูรณ์โดยลำพังหาได้ไม่.
[อ.น.].
ณ. ในเครื่องประกอบ ๔ อย่างนั้น สำคัญทุกอย่างเสมอกัน หรืออย่างไหนดีกว่า ? แจงแสดง.
ค. สำคัญทุกอย่าง แต่ที่สำคัญยิ่ง ก็คือ วิทคติ ฌาตู ปัจฉัย ๓ อย่างนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งขาด ก็ทำคำให้สมบูรณ์ไม่ได้ เมื่อมี ๓ อย่างนี้แล้ว ย่อมทำให้รู้เครื่องประกอบ ๔ อย่างนั้นได้ เพราะวิทคติ เป็นเครื่องหมายให้รู้ กาล ฤท วนฺทะ บูรณ ฐาติ ก็เป็นราก ฐานสำหรับเป็นที่ประกอบของสิ่งเหล่านั้น, ปัจจัย เมื่อประกอบกับ