ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและถ่ายทอดวิทยาการ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า ที่ 184
และวานะใช่ไหม? หรืออย่างไร? จงแสดง
ก. จริง ในภิฤทธิ์ดกไม่มีวิภัตติและจะแนบหนึ่ง แค่ท่าน
ให้ใช้วิภัตติและจะแนบในนามแทน และกล่อมตามนามศัพท์ซึ่งเป็น
ตัวประธาน คือ ตัวประธานเป็นวิภัตติ จงนะใครภิฤทธิ์ก็ต้อง
เป็นวิภัตติ จงนะนั้นตาม ตัวอย่าง เช่น ภูญ คาม คโต ภิญู
ไปแล้วสู่บ้าน ชนา ฯลฯ ชนทั้งหลาย ตายแล้ว เป็นต้น.[อ.น.].
ข. การแบ่งกาลในภิฤทธิ์ดก กับ วิปัตติอาขยาย ต่างกัน
อย่างไร?
ก. ต่างกันดังนี้ คือ: วิภัตติ คำกาลที่เป็นประธาน 2 คือ
ปัจจุบันนามกาล อดีตกาล 1, ปัจจุบันกาล แบ่งให้ละเอียดอีก
2 คือ ปัจจุบันแท้, ปัจจุบันใกล้อนาคต อดีตกาล แบ่งเป็น
2 คี สล่วงแล้ว, สล่วงแล้วเสร็จ 1 รวมทั้งสิ้นเป็น 4 ส่วนก็อธิบาย
อายตามแบ่งกาลที่เป็นประธาน 3 แบ่งให้ละเอียดอีก รวมเป็น 8 ดัง
ได้แสดงมาแล้วในอายยาตน.[อ.น.].
ข. กาลในภิฤทธิ์ดก ถึงที่กล่าวโดยย่อและพิสดาร นี้ จะรู้ได้
แม่นยำว่าประมาณนั้น ๆ ได้ ต้องอาศัยอะไรเป็นหลัก?
ค. ต้องอาศัยปัจจัยเป็นหลัก เพราะปัจจัยในภิฤทธิ์นี้ นอก
จากเป็นเครื่องหมายจากแล้ว ยังเป็นเครื่องหมายให้ทราบกาลได้
ด้วย.[อ.น.].
ฅ. กาลทั้ง 5 นั้น กาลไหนท่านบัญญัติให้แปลว่าอะไร?
ค. ปัจจุบันแท้ แปลว่า อยู่, ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า