ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและถามบ้างใว้ถาวรกาน (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้า 27
ภควา เป็นพระนามของพระบรมศาสดา เป็นนามนาม, ปุรษสมุ- สาธิ แสดงลักษณะสามัญแห่งพระองค์ เป็นปกติคูนาม, อนุตตโร
แสดงลักษณะอิสระแห่งพระองค์ เป็นวิสดุตคูนาม, โส ใช้แทน
พระบรมศาสดา เป็นสัพพนาม. [๒๕๓]
[ลิงค์]
ก. ลิงค์แปลวาอะไร ? จัดเป็นเท่าไหร่ ? อะไรบ้าง ? และจัด
อย่างไร ?
ข. แปลว่าพจ. จัดเป็น ๑ ปุลิสุข ๑ พิจูง ๑ อุตติลิงค์
เพศหญิง ๑ นุ่งสลิงค์ มีใช้พธามิ มีใช้พธามีใช้พธาหญิง ๑ จัดตาม
สมมติของภาษาบัง าตามกำเนิดบัง.[อ.น.]
ค. ลิงค์นั้นจัดตามกำเนิดอย่างเดียวไม่พอหรือ ? เหตุใด จึง
ต้องจัดตามสมมติด้วย ซึ่งที่ให้พูดอาจาริได้ยาก ?
ฏ. จริงอยู่ การจัดลิงค์ตามสมมตินี้ทำให้พูดอาจาริได้
ยาก เพราะสนับเพศกัน เช่น มาไร เมีย ตามธรรมด้องเป็น
อิทิลิงค์ เพศหญิง แต่สมมติให้เป็นปุงลิงค์เพศชาย ภูมิ แผ่นดิน
ตามธรรมด้องเป็นนุ่งสลิงค์ มีใช้พธาย่อใช้พธาหญิง แต่สมมติ
ให้เป็นอิทิลิงค์เป็นดังนี้. จะจัดตามกำเนิดอย่างเดียวไม่พอ เพราะ
คำพูดผิดคำนี้ดังนั้น เขานิยมพูดกันมาก่อนตำราว่าไวาญาณเกิดขึ้น
ดาตาไวญากรณ์เกิดที่หลัง ตามหลักการแต่ตราวไวาญาณจะต้อง
รวบรวมอาคำพูดทั้งสิ้นให้อยู่ในกรอบและอนุวัตรตามภาณยม ถ้า
ไม่มีการจัดลิงค์ตามสมมติแล้ว คำพูดเหล่านี้จะอยู่บนกฎเกณฑ์