ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและฉายาบาลไวยากรณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้า 54
ก. มณีอุ, อมุ, มม, มมิ, เม whenประกอบกันกับอื่น ใช้ได้
เหมือนกันหรือมีพิเศษกว่าถอนอย่างไร? จงอธุษฎร์ณิ
ข. มณีอุ, อมุ, มม, มมิ, ใช้ได้ทั่วไป มีอันนำหน้าหรือไม่มีใช้ได้. มีดิคำต้องมีอันนำหน้าอุทุษฎ์ อุปชฌโยเม ภูติ โหติ ดังนี้เป็นต้น. [๒๕๔๙].
ก. กิจกิ กณิจิ แกกันโดยสถานไหน ? เหมือนกันอย่างไร?
ข. แกกันที่ กิจกิ เป็น นูปสกลิงค์ กฎิโ เป็น ปุงลิงค์, และกิจกิเป็นวิภัตติปุจฉา เอกวาจะได้กฎิเป็นไม่ได้, เหมือนกันที่เป็น ทู้อยา เอกวาจะ และเป็นอนีม มีลุคสุพเธ็น ก็ ด้วยกัน. [๒๕๔๗].
ก. ก็ศัพท์ เป็นศัพท์กำพวกไหน ? จังแหได้อย่างไรว่าเป็นศัพท์พวกนั้น ? ถ้ามี จิ ต่อท้าย ต้องแปลอย่างไร ? คงรูปเป็น ก็ อยู่แต่วิธีใดไหม?
ค. ศัพท์ เป็นพวกวิสสนศัพท์พวกบ้าง เป็นนีบตบอกความถามบ้าง, สังเกตรู้คือ ก็ศัพท์ ถ้าแปลว่า ใครหรืออะไร เป็นวิสสนศัพท์นาม ถ้าแปลว่า หรือเป็น นีบต. ถ้ามี จิ ต่อท้าย ก็ ท่านให้แปลว่า น้อย บางสิ่งหรือบางคน, ถ้าเป็นพูวดนวะ แปลว่า บางพวก บางเหล่า คงรูปเป็น ก็ อยู่แต๋ ปฐมา ทุติยา เอก.
นอกจากนั้นแปลเป็นก็ แกจได้ทั้ง ๑ ลิ่งฯ [อ.น.].
ก. เอกิ อมุ ๓ ศัพท์นี้ว่านเป็นศัพท์นามเหมือนกัน แต่ศัพท์ไหนแสดงให้ทราบนามนามต่างกันอย่างไร ?