พระธรรมปาโมกข์ 4 ภาค 5 - หน้าที่ 8 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 10
หน้าที่ 10 / 189

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการพิจารณากรรมที่ทำและความสำคัญของการไม่ทำความพอใจในบาป โดยชี้ให้เห็นว่าการสะสมบาปนั้นนำมาซึ่งทุกข์ทั้งในปัจจุบันและโลกหน้า ความเข้าใจนี้ช่วยให้ผู้อ่านตระหนักถึงแรงจูงใจในการดำเนินชีวิตอย่างมีสติและระมัดระวังต่อการกระทำของตนเอง มีตัวอย่างผู้ที่ได้รับผลจากการธรรมนั้น รวมถึงหลักการในการลดละความชอบใจในกรรมที่ไม่ดี

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการพิจารณากรรม
-การหลีกเลี่ยงการสะสมบาป
-ความทุกข์จากกรรมที่ไม่ดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปาโมกข์ 4 ภาค 5 - หน้าที่ 8 "ถ้าบูชาพึ่งทำบาปไว้ซรั ไม่ควรทำบันนั้นบ่อย ๆ, ไม่ควรทำความพอใจในบาปนั้น เพราะว่า ความ ลังสมาบเป็นเหตุให้คิดถุดคฺ"" [แก่อรรถ] เนื้อความแห่งพระคาถานี้ว่า "ถ้าบูชาพึ่งทำกรรมมกครวด เดียว ควรพิจารณาในขณะนั้นแหละ ลำเหนียกว่า "กรรมนี้ไม่ สมควร เป็นกรรมหยาบ" ไม่ควรทำกรรมนั้นบ่อย ๆ, พึงบรรเทา เสีย ไม่ควรทำแม่งความพอใจ หรือความชอบใจในบาปกรรมมันนั้น ซึ่งจะพึงเกิดขึ้นเลย. ถามว่า "เพราะเหตุไร?" แก้ว่า "เพราะว่า ความสงสม คือความพอกพูนบาป เป็นเหตุ ให้เกิดทุกข์ คือย่อมนำแต่ทุกข์มาให้ ทั้งในโลกนี้ ทั้งในโลกหน้า." ในกลางบเทศนา ชนเป็นอันมาก ได้รับรออยู่ผลหลาย ๆ มี โสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แหละ. เรื่องพระเสยสักเถระ จบ. ๑. อีกนัยหนึ่ง แปลอย่างนี้คือ "ถ้าบูชาพึงทำกรรมมกครวดเดียวซรั ควรพิจารณา ในขณะนั้นแหละ [คือ] ไม่ควรทำกรรมมกนั้นบ่อย ๆ ด้วยสำเหนียกว่า 'กรรมนี้ ไม่สมควร เป็นกรรมหยาบ,' แล้วพึงบรรเทาเสีย ไม่ควรทำแม่งความพอใจ หรือความ ชอบใจในกรรมมกนั้น ซึ่งจะพึงเกิดขึ้นเลย.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More