พระธัมมปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๕ - หน้า 152 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 154
หน้าที่ 154 / 189

สรุปเนื้อหา

ในหน้าที่ 152 ของพระธัมมปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๕ นี้ กล่าวถึงบทสนทนาระหว่างพระราชากับพระศาสดาเรื่องการรับทรัพย์ และการมองถึงคุณค่าในชีวิต พระศาสดาได้สอนให้ภิกษุทั้งหลายเห็นถึงความไม่จีรังของความมั่งคั่งและความเสื่อมในชีวิต แสดงให้เห็นว่าสิ่งที่ดูมีค่าในสายตาของมหาชนอาจจะไม่มีคุณค่าในทางธรรม ซึ่งเป็นการสอนให้เข้าใจถึงอุดมภาพที่แท้จริงและการละทิ้งความวุ่นวายที่ไม่จำเป็นในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-ความมั่งคั่งและความเสื่อม
-คำสอนของพระศาสดา
-การตระหนักถึงความไม่จีรัง
-คุณค่าทางธรรมในชีวิต
-การเรียนรู้จากประสบการณ์ของคนทั่วไป

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมมปฏิรูปฉบับแปล ภาค ๕ - หน้า 152 กาหปลนะ, ๑ กาหปลนะ, ๕ กาหปลนะ, ๑ กาหปลนะ, ครึ่งกาหปลนะ, บาท ๑, มาสก ๑, กากนิก ๑ แล้วเอามารีบมไป " ก็ไม่เห็นใคร จะรับเอาไป" จึงสั่งให้ตอกลองโบยถามว่า " มองไปป่าว่า ๆ ก็ ได้." ผู้ที่จะออกปากว่า " ขาพเจ้า, หรือว่าเรา" (แม้นหนึ่ง) ก็ ไม่มี. พระราชาด่าว่า " พระเจ้าข้า ชื่อว่าผู้ที่จะรับเอาไปแม้ล่ะ ๆ ก็ไม่มี." พระศาสดา จึงตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย งมดูภาคลึ่งเป็นที่รักของมหาชน, ในภาคก่อน. ชนทั้งหลายใน พระนครนี้ ให้ทรัพย์หนึ่งแล้ว ได้ (อภิรมย์) วันหนึ่ง, บัดนี้ แม่ผู้ที่จะรับเอาเปล่า ๆ ก็ไม่มี, รูปเห็นปานนี้ ถึงความสิ้นและความ เสื่อมแล้ว, ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายของอุดมภาพอ่อนอายุ" ดังนี้ แล้ว ตรัสพระกรณ์นี้ว่า " เธองดูอุดมภาพ ที่ไม่มีความมั่งคั่ง (และ) ความมั่งคง (อัครธรรม) ทำให้จิตวิริแล้ว มี กายเป็นแผล อันกระดูก ๑๐๐ ท่อนยกขึ้นแล้ว อันอุดม ที่มหาชนรุ่นคิดแล้วโดยมาก." [ แก้วรถ ] บรรดาเปล่านั้น บางว่า จิตตกิด คำว่า มีความวิถีร อันธรรมทำแล้ว คือ (อันธรรม) ทำวิวิรดด้วยอันธรรม ๆ มี อาการด์ผ่าสนและเครื่องประดับคือระเบียบดอกไม้เป็นต้น. บางว่า พิมพ์ ได้แก่ ซึ่งอัดภาพอันอยู่ถูกส่วนด้วยอวัยวะทั้งหมดใหญ่ น้อย มีส่วนยาวเป็นต้น ในฐานะอันสมควรแก่ความเป็นอวัยวะยาว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More