ธรรมบทเกี่ยวกับการเรียกผู้มีบุญในพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 121
หน้าที่ 121 / 189

สรุปเนื้อหา

บทสนทนานี้ได้พูดถึงความสำคัญของการเรียกชื่อในบริบทของศาสนา โดยพระศาสดาได้ชี้ว่าไม่ว่าจะเรียกว่า 'สมณะ' หรือ 'พราหมณ์' นักบำเพ็ญทุกคนล้วนมีคุณค่าเหมือนกัน ตามการประพฤติปฏิบัติที่ดี เนื้อหาเน้นการสะท้อนถึงคุณธรรมและการประพฤติที่คาดหวังจากผู้มีส่วนบุญในวงการสงฆ์ เรียกร้องให้ทุกคนใส่ใจในการพัฒนาจิตใจเพื่อเข้าถึงธรรมะอย่างแท้จริง.

หัวข้อประเด็น

-การเรียกชื่อในศาสนา
-ความสำคัญของคุณธรรม
-บทสนทนาของพระศาสดา
-ความหมายของพราหมณ์และสมณะ
-การประพฤติปฏิบัติที่ดีในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระชิมะปัทีถูกถามแปลภาค ๕ - หน้าที่ 119 ผู้มีส่วนแห่งบุญ." [ สันติติวามาอามาตย์ควรเรียกว่า มนะหรือพราหมณ์ ] พวกวิญญาณนานกันในโรงธรรมว่า " ผู้มีอุอา สันติติมา-อามาตย์บรรจุพระองค์ในเวลาจบพระคาถา ๆ เดียว ยังประดับประคอ อยู่บนแอกาสปรินิพพานแล้ว, การเรียกเธอว่า ' สมณะ ' ควรหรือหนอเเดล ? หรือเรียกว่า ' พราหมณ์ ' จึงจะควร." พระศาดา เสด็จมาดรัศมาว่า " ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ นั่งประชุมกันด้วยถออะไรหนอ ? เมื่ออีกุ่งทั้งหลายจูลว่า " พวกบำพระองค์ นั่งประชุมด้วยถกชื่อนี้ " จึงตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย การเรียกบุตรของเราแมว่า ' สมณะ ' ก็ว่าร, เรียกว่า 'พราหมณ์' ก็ควรเหมือนกัน." ดังนี้ เมื่อจะทรงสัญญอนุสรณ์แสดงธรรม ถึง ศรัสพระคุณว่า " แม้ถังบุคคลประดิษฐานแล้ว ผลีประพฤติสมอเป็นผู้สงบ ฝึกแล้ว เที่ยงธรรม มีกิจดี ประพฤติประเสริฐ วางลิ้งของใจในสัตว์ ทุกจำพวก, บุคคลนั้น เป็นพราหมณ์ เป็นสมณะ เป็นภิกษุ." [ แก้วกร ] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า อลดกโต ได้แก้ ประดับด้วยแสงและอากรณี. บนคิดพึงราบความแห่งพระคาถานั้นว่า " แม้มากับบุคคลประดับด้วยเครื่องอังวะมีผ้าเป็นต้น พึงประพฤติสมอด้วยาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More