พระธรรมบทที่ถูกถอดแปล ภาค ๕ - หน้า 100 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 102
หน้าที่ 102 / 189

สรุปเนื้อหา

บทนี้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการไม่กระทำผิดต่อผู้ที่ไม่ทำผิด การประทุษร้ายต่อผู้บริสุทธิ์ย่อมส่งผลให้เกิดความไม่ดีในชีวิต ตั้งแต่ความเจ็บปวด จนถึงความเสื่อมเสียทางการเงินและชื่อเสียง สรุปคือ ประพฤติดีจะหลีกเลี่ยงผลกรรมในทางที่ไม่ดีได้ และจะมีความสุขในชีวิต. อ่านเพิ่มเติมที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-การประทุษร้าย
-ผลกรรม
-การรักษาความบริสุทธิ์
-การเรียนรู้จากธรรม
-ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธรรมบทที่ถูกถอดแปล ภาค ๕ - หน้า 100 กับโจร ๕๐๐ ประทุษร้ายต่อคงของผู้ไม่มีประทุษร้าย ก็ได้มรณ ที่เหมาะ (แก่กรรมของเขา) เหมือนกัน, ด้วยว่า บุคคลผู้ประทุษร้าย ต่อคงผูไม่ประทุษร้าย ย่อมถึงความพินาศหายด้วยเหตุ ๑๐ ประกอบเป็นแท้" ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบสนิทแสดงธรรม จึง ได้ทรงภาษิตพระคาถานี้ว่า "ผู้ใด ประทุษร้ายในท่านผู้ไม่ประทุษร้ายทั้งหลาย ผู้ไม่ย่อมฌญา ด้วยอาญา ย่อมถึงฐาน ๑๐ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งพลันทีเดียว คือ ถึงเวทนา กล้า ๑ ความเสื่อมทรัพย์ ๑ ความลายแหล่ง สรีระ ๑ อาพาธหนัก ๑ ความฟุ้งซ่านแหง่ จิต ๑ ความขัดข้องแต่พระราชา ๑ การถูก กล่าวดูถูกอย่างแรง ๑ ความอ่อยยินแห่งเครื่อง ญาติ ๑ ความเสียหายแห่งโลกะ อีก อย่างหนึ่ง ไฟป่าเองไหม้เรือนของเขา, ผู้นัน มีปัญญามรรค พระราชา เพราะกายแตก ย่อมเข้าสิ้นรกล." [ แก้กรรม ] บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนุฑาส ความว่า ในพระนิพนธ์ ทั้งหลาย ผู้วินจากอาชญามีอาญาทางกายเป็นอาทิ. บทว่า อุปทุษร้าย ความว่า ผู้ไม่มีความผิดในชนเหล่อื่น หรือในตน. บาทพระคาถาว่า ทนุมนฺญตฺธํ ธานํ ความว่า ในเหตุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More