ปรโษค - พระทับปฏิทินฉบับแปล ภาค ๕ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 165
หน้าที่ 165 / 189

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้มีการพูดถึงการเห็นความงามของหญิงจากมุมมองของพระนาง โดยที่พยายามสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพตามเวลา และแสดงให้เห็นถึงความไม่เที่ยงของชีวิต พระศาสดาได้ตระหนักถึงความรู้สึกที่ผสมผสานระหว่างความงามและความชราของสตรี และท้ายที่สุดก็แสดงถึงสัจธรรมความเป็นอนิจจังแห่งชีวิตที่มนุษย์ทุกคนต้องพบพบเจอในแต่ละช่วงเวลา โดยไม่มีอะไรคงอยู่ถาวร.

หัวข้อประเด็น

-ความงามของหญิง
-การเปลี่ยนแปลงของสตรี
-สัจธรรมของชีวิต
-ศาสนาพุทธในมุมมองของความไม่เที่ยง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโษค - พระทับปฏิทินฉบับแปล ภาค ๕ - หน้า ๑๖๓ พระนางมีจิตอันศิริโฉมแห่งศิริประเทศทั้งหมดคดิ่งดูไปแล้วว่า " แม้ ผมของหญิงนี้งาม, แม้หน้าผากก็งาม " ดังนี้ ได้มีสีหนาในรูปนั้น อย่างรุนแรง. พระศาสดา ทรงทราบความเอ็นดูอย่างสุดซึ้งในรูปนั้น ของพระนาง พอเมื่อจะทรงแสดงธรรมหรืออย่างสุดซึ้งในรูปนั้น. ของพระนาง รูปนี้นท เมื่อต่อพระเนตร มีจิตเบื่อหน่ายหน่อยหนึ่งว่า " รูปนี้ไม่เหมือนรูปก่อน หนอ." พระศาสดา (ทรงแสดงความแปรเปลี่ยนพฤติ) ของหญิงนั้น โดยลำดับเทียว คือ เพศหญิงคลอดดูดตรัครับครั้งเดียว เพศหญิงกลาง คน เพศหญิงแก่ เพศหญิงแก่ร่ำราแล้วเพราะชรา. แต่พระนาง ก็ทรงเมื่อนท่านรูปนั้น ในเวลาที่ทรงโทรมเพราะชราโดยลำบากเหมือน กัน ว่า " แม้รูปนี้ หายไปแล้ว" (ครั้น) ทรงเห็นรูปนั้นมีไฟนก ผมทอง หลังโกน มีสี่กึ่งชั้นคดูกาล มีไมท้าพันขึ้นด้านหน้า งงัง อยู่ ก็ทรงเบื่อหน่ายเหลือเกิน. ลำดับนั้น พระศาสดา ทรงแสดง รูปหญิงนั้นให้เป็นรูปอันพายพิธรอบงำ ในขณะนั้นเอง หญิงนั้น ก็ทรง ไม่เข้าและพัดในดาล ร้องเสียงรบกวน ล้มลงที่กอพื้น จงลงในมตนะ และคริสสองคน กลิ้งกล่อไปมา. พระนางรูปนี้ทรงเห็นหญิง นั้นแล้ว ทรงเบื่อหน่ายเต็มที. พระศาสดา ทรงแสดงธาระของ หญิงนั้นแล้ว. หญิงนั้น ถึงความเป็นศพของชันในขณะนั้นเอง. สาย แห่งหนอนและหมุ่นอนไหลออกจากปากแผลทั้ง ๕. ฝูงสัตว์มาก เป็นต้นรูแบบกันอีกแล้ว. พระนางรูปนี้ทรงพิอารลเทพกศพ นั้นแล้ว ทรงเห็นอัภาพโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยงว่า "หญิงนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More