พระธัมปวัฏฏ์ุกาแปล ภาค ๕ - การทำกรรมและการหนีกรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 62
หน้าที่ 62 / 189

สรุปเนื้อหา

ในพระธัมปวัฏฏ์ุกา ภาค ๕ พระศาสดาอธิบายว่าคนเราจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงกรรมที่ทำมาได้ไม่ว่าผ่านอุบายใดๆ ซึ่งเผยแพร่ในคำสอนนี้ ภิกษุท่านหนึ่งได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับการหนีกรรมในสถานที่ต่างๆ เช่น อากาศ หรือในมหาสมุทร พระศาสดาตอบว่ากรรมยังอยู่กับเขา ดังนั้นไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ไหน ก็ไม่พึงพ้นจากกรรมซ้ำได้ การทำกรรมจึงมีความสำคัญที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เพราะกรรมตามไปทุกที่​​

หัวข้อประเด็น

-การทำกรรม
-การหนีกรรม
-หลักธรรมทางศาสนา
-พระธัมปวัฏฏ์ุกา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธัมปวัฏฏ์ุกาแปล ภาค ๕ - หน้า 60 พระศาสดา ทรงพยายามปัญหาอันภิขุหนัาถามแล้ว ๆ ด้วยประกาศนี้ [ คนจะอยู่ไหน ๆ ก็ไม่พันจากกรรมซ้ำ ] ครั้งนั้น ภิกษุปหนึ่ง ทูลพระศาสดาว่า " ความพันย่อมไม่มี แก้สัตว์ที่ทำกรรมเป็นบาปแล้ว ผู้ซึ่งเทาะไปในอากาศดี แล่นไปสู่ สมุทรดี เข้าไปสู่อกแห่งภูเขาดี หรือ? พระเจ้าข้า." พระศาสดาตรัสตอบว่า " อย่างนั้นและ ภิกษุทั้งหลาย แห่ง ในทิ้งหลาย มีอากาศเป็นต้น เป็นกาณให้บุคคล อยู่แล้ว พึงพันจากกรรมซ้ำได้ " ไม่มี" เมื่อจะทรงสนธิแสดง ธรรม ตรัสพระคาถานี้ว่า "คนที่ทำกรรมซ้ำไว้ หน้าไปแล้วในอากาศ ก็ ไม่พึงพันความซ้ำได้, หน้าไปนกลาง มหาสมุทร ก็ไม่พึงพันจากกรรมซ้ำได้, หนี เข้าไปสู่อกแห่งภูเขา ก็ไม่พึงพันจากกรรมซ้ำ ได้, เพราะ] เขาอยู่แล้วในประเทศแห่งเม่น ดินได พึงพันจากกรรมซ้ำได้, ประเทศแห่ง แผ่นดินนั้น หมายอยู่ไม่." [ แสดงรบ ] ความแห่งพระคาถานี้ว่า " ดีเท่ากว่า คนบงคนคิดว่า เราจัก พุ้นจากกรรมซ้ำด้วยอุบายนี้ พึงนั่งในอากาศดี พึงเข้าไปสู่มา-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More