ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโบค - พระธีมบาปจตุภัณฑ์แปล ภาค ๕ - หน้าที่ 68
ธรรมาคิฎฐ์ว่า 'เรายอมหวาดหวั่นต่ออาชญา กลัวต่อความตาย
ฉันใด แมสัตว์เหล่านั้นก็ยอมหวาดหวั่นต่ออาชญา กลัวต่อความ
ตายฉันนั้นเหมือนกัน' ไม่ควรประหลาดใจ ไม่ควรใช้ผู้อื่นดำ
ดั้งนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า
" สัตว์ทั้งหมด ย่อมหวาดหวั่นต่ออาชญา สัตว์
ทั้งหมด ย่อมกลัวต่อความตาย บุคคลท่าน
ให้เป็นอุบาแล้ว ไม่ควรสพเอง ไม่ควรให้
มา (ผู้อื่น)."
[ แก้อรรถ ]
บรรดาปีเล่านั้น สองบทว่า " สนพูด ตสนติ" ความว่สัตว์
แม้ทั้งหมด เมืออาชญาจะตกติเติ ย่อมหวาดหวั่นต่ออาชญา ฉนั้น
ว่ามูฎูโณ ได้แก่ ย่อมกลัวแม้ต่อความตายแท้
กัปยบุญนะแห่งเทวานี้ไม่มีเหลือ ส่วนเนื้อความยังมีเหลือ
เหมือนอย่างว่า เมื่อพระราชบังสังให้พวกราชบุตรหลงเที่ยวป่าว
ร้องว่า " ชนทั้งหมดรวมประชุมกัน" ชนทั้งหมดที่เหลือวันที่พระราชา
และมาอำมาตย์ของพระราชาเสด็ ย่อมประชุมกันฉันใด แม้อน
พระศาศดา คำว่า " สัตว์ทั้งปวง" ย่อมหวาดหวั่นหวั่น" ดังนี้ สัตว์
ทั้งหมดที่เหลือเว้นสัตว์วิสัย ๔ จำพวกเหล่านี้คือ 'ช้างม้าในอย
น้ำชาในโยคสุดอาชาในอย และพระอิณาสพ บัณฑิตพิงทราม
อธิบายว่า เพ่งตามพยัญชนะ แสดงว่า สัตว์ทั้งหลายกลัวต่อความตาย ไม่มีวัน
ใครเลย แต่ตามอรรถ มีวันสัตว์บ้างพวก จึงกล่าวว่า ยิ่งมีเหลือ.