พระไตรปิฎก ฉบับที่ 50 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 52
หน้าที่ 52 / 189

สรุปเนื้อหา

ในพระไตรปิฎกฉบับนี้ มีการสนทนาระหว่างพระเณรและบุตรที่เกี่ยวข้องกับการครอบครองแก้วมณี ซึ่งแสดงถึงความเข้าใจผิดและการกล่าวโทษของพระเณรว่าอาจมีแนวโน้มในการครอบครองสิ่งนั้น มีการถกเถียงถึงความเป็นทาสและการทำโทษในกรณีที่มีความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นี้ ทำให้เข้าใจถึงความสำคัญของหลักธรรมและจริยธรรมในพระพุทธศาสนา ภายในเนื้อหายังได้มีการแสดงถึงการทำร้ายและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเข้าใจผิด ดังนั้น จึงเป็นเนื้อหาที่มีความหมายและเป็นบทเรียนที่สำคัญในทางพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-สนทนาระหว่างพระเณรและบุคคลอื่น
-แก้วมณีในพระไตรปิฎก
-บทเรียนเกี่ยวกับความเข้าใจผิด
-จริยธรรมในพระพุทธศาสนา
-การทำโทษและผลกระทบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระไตรปิฎก ฉบับที่ 50 และบุตรโดยลำดับว่า " พวกเจ้าเอาแก้วมณีไปหรือ? " เมื่อชนะเหล่านั้นกล่าวว่า "ไม่ใช่เอาไป" จึงกิ่วกับภิษิวา "'แก้วมณี (ชะรอ) พระเณรจักเอาไป" จึงริบถามกันว่า "แนะนำ นาย นายอยากกล่าวอย่างนั้น. ครั้งนี้ไม่เคยเห็นโทษอะไร ๆ ของพระเณรเลยทอดกาลประมาณเท่านี้, ท่านย่อมไม่ถือเอาแก้วมณี (แน่นอน.)" นายมีกิจถามพระเณรว่า "ท่านขอรับ ท่านเอาแก้วมณีในที่นี้ไปหรือ?" พระเณร. เราไม่ได้เอาดอก อุบาสก. นายมดิตำกร. ท่านขอรับ ในที่นี้ไม่มีคนอื่น, ท่านต้องเอาไปเป็นแน่, ขอท่านจงให้แก้วมณีแก่มันเถิด. เมื่อพระเณรนั่นไม่รับ, องค์พูดกับภิษิวา่งว่า "พระเณรเอาแก้วมณีไปไหน, เราจัดบิขับกันตามท่าน."ภิษิวาก็ว่า "แนะนำ นาย นายอย่าให้พวกเราจับหายเลย, พวกเราเข้าถึงความเป็นทาสเสียยังประเสริฐกว่า, ก็การกล่าวว่านพระเณรเห็นบาปนี้ไม่ประเสริฐเลย." [ช่างแก้วทำโทษพระดีสิตสละเพราะเข้าใจผิด] นายช่างแก้วนั่นกล่าวว่า " พวกเราทั้งหมดด้วยกัน เข้าถึงความเป็นทาส ยังไม่เท่าแก้วมณี" ดังนี้แล้ว จึงถือเอาเชือก พันศีรษะพระเณรขั่นด้วยท่อนไม้. โละออกจากศีรษะและจมูกของพระเณร. หมดต่อทั่ง ๒ ได้ถึงอาการทะเล้นออก, ท่านเจ็บปวดมาก ก็จะลง ณ ภาคพื้น. นักเรียนมาด้วยกลิ่นโลหิต ดื่ม ๑. เวนนาปฏุปิโด ถึงซึ่งเวทนา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More