เศรษฐีและการใช้ทรัพย์สมบัติ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 5 หน้า 129
หน้าที่ 129 / 189

สรุปเนื้อหา

เศรษฐีได้สะสมทรัพย์สมบัติจำนวนมาก เพื่อนำไปใช้ในการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น สถานที่อาบน้ำและที่นั่งสำหรับชุมชน โดยเขามีความตั้งใจที่จะบริจาคทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะและช่วยเหลือชุมชนอย่างแท้จริง เศรษฐีคิดว่าแม้กระทั่งที่ที่ตนมีอยู่ก็ไม่ควรจะถูกทอดทิ้ง และควรใช้เพื่อสร้างคุณประโยชน์ให้มากที่สุด มหาชนจึงเข้ามาช่วยสนับสนุนและร่วมกันสร้างความสุขในชุมชนบนทรัพย์สินที่เศรษฐีเตรียมไว้

หัวข้อประเด็น

-เศรษฐีกับการใช้ทรัพย์สมบัติ
-การบริจาคและช่วยเหลือชุมชน
-วัตถุประสงค์ในการใช้ทรัพย์ในสังคม
-การสร้างสาธารณูปโภค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระจําปาทิฏฐุกาแปล ภาค ๕ - หน้าที่ 127 [ เศรษฐีจ่ายทรัพย์สร้างสิ่งต่าง ๆ ] เศรษฐีนั้น คิดว่า " บรรพบุรุษเหล่านั้น พากันส่งสมบัีรย์ไว แล้วก็จะทิ้งไปเสีย เพราะความที่ตนเป็นคนโน่ง ส่วนเราจักถือเอา ทรัพย์นี้ไปด้วย," คิดènว่า " เศษฐีนี้อคอดอยุ่ อย่างนั้น มีได้ว่า " เรา จักให้ท่าน, หรืออีกํการบูชา," คิดว่า " เราจักบริโภทรัพย์ นี้ให้หมดแล้วจึงจงไป." เศรษฐีนี้น ได้สะสมทรัพย์แสนหนี่ง ให้ทำสูงม ที่อาบน้ำอันแล้วด้วยแก้วกลัก จ่ายทรัพย์แสนหนึ้ง ให้ทำกระดาน สำหรับอาบน้ำอันแล้วด้วยแก้วกลักเหมือนกัน จ่ายทรัพย์แสนหนึ้ง ให้ทำลังกสำหรับนั่ง, จ่ายทรัพย์แสนหนึ้ง ให้กาตสำหรับใส่ โภชนะ, จ่ายทรัพย์อีกแสนหนึ้ง ให้ทำรูปแบบในที่บริโภค, จ่าย ทรัพย์แสนหนึ้ง ในถวายกองกาอธิหวะ ให้สร้างสี่บัญชีชูไว้ ในเรือนด้วยทรัพย์แสนหนึ้งเหมือนกัน, ได้อธิทรัพย์พ้นหนึ่ง แม้เพื่อ ประโยชน์แก่อาหารเย็น, แต่ในวันเพ็น คำสั่งจ่ายทรัพย์แสนหนึ้ง เพื่อ ประโยชน์แก่โภชนะ, ในวันบริโภคครั้งนั้น ท่านเศรษฐีได้สะสมทรัพย์ แสนหนึ้ง ตกแต่งพระนคร ใช้ให้คนเที่ยวดีกองประกาศว่า " ได้ยิน ว่า มหาชนจงทำทางแห่งกองบริโภคของคนเศรษฐี" มหาชน ได้ผูกเตียงซ้อนเตียงประชุมกัน. ฝ่ายค้นเศรษฐีนี้ นั่งบนแผ่นกระดานอันมีค่าแสนหนึ้งในชุม อาน้ำอันมีค่าแสนหนึ้ง อาบน้ำด้วยอาบๆน้ำหอม ๑๖ หม้อ เปิด สี่บัญชรนั้นแล้ว นั่งบนบัลลังก์นั้น กัลบั้น พวกคนใช้งานก็ดั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More