บทพูดเกี่ยวกับความสุขในพระพุทธศาสนา คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 6 หน้า 134
หน้าที่ 134 / 231

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับคำสอนในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับความสุขและอภิญญา โดยมีการอภิปรายถึงความสุขที่เกิดจากการบริโภคอาหารและธรรมะ การตั้งข้อสมมติที่อาจเกิดขึ้นในครอบครัวผู้อ่าน พร้อมกับแนวทางการปฏิบัติในชีวิตประจำวันเพื่อความสุขที่ยั่งยืน และการสอนเกี่ยวกับการรักษาใจให้สงบ ตั้งอยู่ในความเป็นจริงที่สอดคล้องกับคำสอนในพระธรรม

หัวข้อประเด็น

-ความสุขในพระพุทธศาสนา
-อภิญญา
-การปฏิบัติธรรม
-การศึกษาแนวคิด
-การรักษาใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คำฉันพระธรรมปฏิรูปยา ย่อกพักเปล่า ภาค ๖ - หน้าาที่ 134 เรื่องสัมพูหลภิญญ ๒๘. ๑๑/๕ ตั้งแต่ เอกวิส สิ ปูฉสุตาภิญญ เป็นต้นไป ที่ คามพิสิฎวา เอกวิส ในวันหนึ่งภิญญ อภิญญ ท. ปูฉสุตา ผู้มีร้อยห้าเป็นประมาณ นิศิณา นั่งแล้ว อุปฐาน- สลาาย ที่ศาลอันเป็นที่บรรจุก ถิ ยังก้อกว่า อาวุโส แนะผู้มีอายุ ก็ นุ โจ อ. อะไรหนอแแล สุข เป็นความสุข อิมาสิ โลโก ใน โลกนี้ (ไหตุ) ยอมเป็น อิต ดังนี้ สุบญาจเปล่า ให้ตั้งขึ้นพร้อม แล้ว ๆ ตกฤ สภิญญ ในภิญญ ท. เหล่านั้นนา เกจีภิญญ อ. ภิญญ ท. บางพวก อาหาร กล่าวแล้วว่า สุข นาม ชื่อ อ.ความสุข รชชูสุขทีลี อันเช่นกันด้วยความสุขในความเป็นแห่งพระราช นฤดี ยอดิ ไม่มี อิต ดั้งนี้ ๆ เกจิภิญญ อ.ภิญญ ท. บางพวก (อาหัส) กล่าวแล้วว่า (สุข นาม) ชื่อ อ. ความสุข กมุสุขีสี่ อันเชิญ กับด้วยความสุขในกาม นฤดี ย่อมไม่มี อิต ดั้งนี้ ๆ เกจิ ภิญญ ท. บางพวก อาหาร กล่าวแล้วว่า สุข นาม ชื่อ อ. ความสุข สาธิมิโภนสุขทีติ อันเช่นกันด้วยความสุขในการ บริโภคข้าวสกลและเนื้อ นฤดี ย่อมไม่มี อิต ดั้งนี้ ๆ สุตา อ. พระศาสดา อนาคตวา เสด็จมาแล้ว เตศภิญญ์ นิสิเนุภูฏาน สู่ที่แห่งภิญญ ท. เหล่านี้นั่งแล้ว ปูฉิวา ตรัสถาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More