ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม 2 - หน้า 162
รู้จักตัดพวกออกเป็นส่วน ๆ ตอน ๆ ที่เรียกว่าพวกง คำพูดนั้น กล่าวตามความสัมพันธ์ตอนต้นแบ่งเป็น 3 คือ นามพวกง คุณพวกง วิธีพวกง ให้รู้ว่าตอนไหนเป็นพวกอ่ะไร เรื่องนี้ ได้อธิบายไว้ในอธิบายความสัมพันธ์เล่ม 1 แล้ว จะไม่กล่าวซ้ำอีก
(14) วิธีตัดนั้น ให้กบประชาชนเป็นที่ตั้ง แล้วหาพบแต่ง และขยายประชาน ถ้ามีบทนี้ประชานเป็นคุณนาม เช่น กุลสุต ปฏิโต เป็นนามพวกง ถ้ามีบทขยายประชาน (กริยา) เช่น ปฏิโต ...ปฏิชุนโด เป็นกริยาพวกง และบทที่เข้ากับบทและขยายประชานในพวกง ค ก็อ่านเข้าในพวกงนั้นทั้งหมด
(15) ในการตัด จำต้องรู้กฎบททั้งหลายขั้นเป็นพวกง นั้น ๆ บทที่เรียงคุมกันเป็นพวกงก็ขึ้นอยู่ตามที่องค์ตอนแล้ว ก็คือง่าย แดบทนี้เรียงแตกพวกงอคของตอนออกไป มีพวกงอันนี้อยู่ อย่างนี้ จำต้องจัดกุมมึงเองที่ของตอนให้จงได้ ถามคำถามออกเข้ามาว่า ทำไหมท่านจึงรีบให้แตกออกไปอย่างนั้น ? ตอบว่า ท่านเรียงตามวิธีอาย - สัมพันธ์
(16) ในพวกง ค่ายวา ๆ ยังมีพวกงัศชันใน คือความตอนที่ พึงเป็นนามพวกงก็เป็นตัวนั้นเอง แต่ไปประกอบเป็นต่างวัฏฏีก็ดี บางทีไปเข้าสมาสติดต่อกับศัพท์อันความที่น้องกัน (พึงสังเกตตามตัวอย่างที่ยามตามในข้ออปไป) พึงสังเกตพวกงอให้รู้ว่าตอนไหนเป็นชั้นนอก ตอนไหนเป็นชั้นใน และเนื่องกันอยู่ยังไร และพิสูจน์ความเนื่องกัน ของพวกงตั้งหลาย