ความสัมพันธ์และการแปลในสมัยพุทธศาสนา อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 2 หน้า 226
หน้าที่ 226 / 228

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างการแปลและการใช้สัพพนามในพระพุทธศาสนา โดยยกตัวอย่างการแปลที่อาจผิดพลาดเพื่อให้เข้าใจในบริบทที่ถูกต้องพร้อมการอ้างอิงจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ตลอดจนหลากหลายแง่มุมที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาในคำสอนพระพุทธเจ้า เช่น การใช้คำว่า 'โง' และ 'โน' ที่สะท้อนวรรณกรรมทางพุทธศาสนา และคำถามที่นำไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ทางภาษา
-การแปลในพุทธศาสนา
-สัพพนามในบริบทศาสนา
-นิบาตมุตกิ
-การใช้ภาษาในคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม ๒ - หน้าที่ 225 แปลของท่านไม่ออก (เพราะไม่อาจแปลเป็นสัพพนาม) อาจคิดแก้เช่นเเก้ โน เป็น โง. [๒] โงเป็นบทรูปนะ หรือ อาราธนาที่เรียกว่า 'นิบาตมุตกิ' สาความิบาบค. อุ.:- อ. ที่ ๑ เขาหิวโว อริยม ปริสุทธากมมุณฎา อญฺญวณฺตปุตฺตา "นิบาตพระอริยะ ท.เหล่าใดแล มีการงานทางอาริสุทธิ ย่อมเสนาสนะ ที่เป็นราวป่าและไพรสนอันสงัด เราเป็นผู้หนึ่งแห่งพระอริยะเหล่านั้น." ( เขา ที โวติ อฏฺฐ โวติ นิปลมุตต ป. สุ. ๑/๑๕๓ ) อ. ที่ ๒ ปลาสาม โว่ อตตัน ยา อิสิ ถา อหุ. [มุ. ชา. มหาโณค. ๒๕/๓๒] "เราเห็นและชื่นชุน (ว่า) ได้เป็นแล้วด้วยปรารถนา." [๓] ในใช้อธิบาย บ้าง สําความบอกอย่าง โงบ้าง อุ.:- โน ใช้อย่างรุ อ. ที่ ๑ อภินนาสิ โน ตัว มหาราช อิม ปญฺหา อญฺญปิ สมณพฤหูมณ ปฏิจฺจต. [ที. ที. สมัญญผล. ๘/๖๒] "กู้อ่าน มหาพิธร, พระองค์ทรงจำได้หรือหนอ ว่า (เคย) ถามปัญหานี้"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More