ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม 2 - หน้า 160
รู้ความสัมพันธ์. ต่อมา เมื่อเรียนรู้แบบสัมพันธ์ ก็เลือกชื่อสัมพันธ์และ
แสดงวิธีสัมพันธ์ให้ถูกต้อง.
(๓) ถ้าเป็นประโยคสั้น ง่าย ๆ อย่างนี้ ก็โน้ะไม่รีบใคร
บอกสัมพันธ์ผิด แต่เพราะมีประโยคยาว ๆ และซับซ้อน การบอก
สัมพันธ์ประโยคเช่นนี้ จึงเป็นการยาก แต่มีวิธีทำให้ง่าย คือท่อน
ลงเป็นท่อน ๆ คือคัดเป็นพวกอย่าง ๆ, กำหนดให้รู้ว่า บทไหนอยู่
ในพวกยางใดไหน และมีการเนื่องกันอย่างไร เช่นนี้ประโยคยาว ๆ ซับ ๆ
ช้อน ๆ ก็จะแยกเป็นสั้น ๆ ง่าย ๆ กล่าวสั้นก็ต้องกำหนดให้รู้ว่าก่อน
พาก่อนวาเป็น กฎตน, ก็มเป็นต้น, ให้รู้ว่าคัดพวกวาเป็น
พาจงค่านาม หรือคุณ หรืออธิษฐาน, ให้รู้ว่าบว่าเป็นบทนาม บทกริยา
ตลอดถึงคำที่มีนามบาด และบทไหนเนื่องกันบทไหน.
หลักสังเกตพากย์
(๔) การรู้จักพากย์อันเป็นต้องรู้ในเบื้องต้นนั้น กล่าวตามหลัก
ไวยากรณ์ ก็รู้จักพากย์ตามวางจาก ทั้ง ๆ คือให้รู้ว่าเป็นประโยค
ก็ตจากวา ประโยคมาจาก ประโยคภาวจาก ประโยคเหตุจากวาก
ประโยคเหตุคืมมาจาก.
(๕) ให้รู้จักความเนื่องกันของพากย์ เพราะโดยปกติ พากย์
ทั้งหลาย ก็คือความท่อนหนึ่ง ๆ ที่แสดงข้อความในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
จึงเนื่องกัน เช่นท่อนต้นกล่าวแต่โดยอ่อ, ท่อนหลังกล่าวโดยพิสาส :
ท่อนต้นแสดงความงามไม่หมด, ท่อนหลังปรารภแสดงต่อเนื่องกันไม่ขาดสาย
ดังนี้เป็นต้น. ความเนื่อยกันนี้อาจกำหนดรู้ได้ทางความ ทางการวางนิบาด
ในท่อนนั้น ๆ และทางประกอบ ย - ต เป็นตน.