การวิเคราะห์และวิภาคสัมพันธ์ในภาษา อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 2 หน้า 160
หน้าที่ 160 / 228

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ของภาษา ไวยากรณ์เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถแยกแยะประเภทของคำและสร้างประโยคที่ถูกต้องได้ นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการประกอบคำอย่างถูกต้องจากตัวอย่างต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การพูดและการแปลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การเข้าใจวายสัมพันธ์สามารถเพิ่มความชัดเจนในการสื่อสารและช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจสิ่งที่พูดได้อย่างถูกต้อง เมื่อนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับไวยากรณ์อย่างเพียงพอ จะสามารถสื่อสารผ่านภาษาได้ดีขึ้น จากประสบการณ์ในการแปลภาษา จะสามารถแต่งประโยคได้อย่างถูกต้องและเข้าใจได้ง่ายขึ้น เนื้อหาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ภาษา
-ความสัมพันธ์ของคำ
-การพูดภาษาอย่างถูกต้อง
-การแปลภาษาทั้งสองทิศทาง
-การศึกษาไวยากรณ์พื้นฐาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม ๒ - หน้า 159 และแปลภาษาดี ก็ต้องรู้วิธีการวิเคราะห์และวิธีวิภาคสัมพันธ์ของภาษานั้นดี (วายสัมพันธ์ท่านจัดเป็นภาษาไวยากรณ์ภาคที่ ๓ ด้วย แต่ในที่นี้แสดงแบบ) (๔) ไวยากรณ์เป็นเครื่องชี้ชนิดและเครื่องสำเร็จรูปเป็นคำมัน ๆ เช่นเทพเหล่าน ภิกขุ อาราม อาตา เป็นศัพท์อะไร สำเร็จรูปเป็นอย่างไรได้อย่างไร วายสัมพันธ์เป็นเครื่องชี้ออกวิธีประกอบคำเหล่านี้เข้าไปเป็นพวก (๕) ถึงจะพูดให้ผู้อื่นฟังบ้าง ก็ต้องพูดให้ถูกภาษา ถ้าพูดผิดผู้อื่นก็ฟังไม่รู้ความ เช่น ประสงค์จะพูดว่า “ภิกษุมาแล้วอุราธารา” ถ้าพูดว่า ภิกษุสุดา อารมณ์ อาตา หรือถ้าเรียงคำพูดอย่างภาษาไทยว่าภิกุ อาดโต อาราม ก็เป็นผิดไปจากมรรควิธีประโยคภาษา (๖) เมื่อเริ่มไวยากรณ์เองได้พบตัวอย่างต่าง ๆ ที่นำมาอ้าง บางตัวอย่าง ท่านต้องลงเลขบอกให้แปลเป็นคำที่ ๑,๒ เป็นต้นก็มี นักเรียนมันคงรู้สึกว่าสับสน เพราะไม่มีเรียงไปตามลำดับเหมือนภาษาไทย, ต่อมาเมื่อได้เรียนอธิพบแล้ว ได้เรียนรู้วิธีที่ท่านสอนไวับ้าง ได้หัดแปลมรรคเป็นไทยแปลไทยเป็น มรรคบ้างก็ยัง ๆ คงเข้า, ต่ออีกได้แปลธรรมบท ก็คล่อยคุ้นมากเข้าโดยลำดับ จนถึงรู้ว่าประกอบคำอย่างไรดูอย่างไรดี จนถึงอาจแต่งเองได้ คำรู้วิธีประกอบคำเข้าอย่างนี้เรียกว่า ‘วายสัมพันธ์’ คือวิธีประกอบคำพูดเข้าเป็นพวก แท้ที่จริงนักเรียกทุกคนรู้ตั้งแต่เรียนไวยากรณ์แล้ว เมื่อเห็นคำประกอบว่า ภิกขุ อาโต อาราม ก็รู้ว่าประกอบผิด, และรู้ว่าต้องประกอบว่า ภิกขุ อาราม อาจู, นี้ ไม่ใช่วิธีวิภาค แต่เป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More