ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม 2 - หน้า 168
ทั้งหลายในทางต่างๆ กัน เป็นอุปกรณ์ความรู้ความสัมพันธ์เป็นอย่างดีงาม
หลักฐานเหตุข้อความที่สั้น
(๒๕) มีข้อความที่สั้น อันไม่ต้องเติมเข้ามามี อันต้องเติม เข้ามามี ข้อความที่สั้นไม่ต้องเข้ามานั้น เพราะประสงค์เพียง ยกมาจำ่นั้นบ้าง เพราะซ้ำกับข้อความข้างต้นบ้าง และข้อที่จะ บางทีจะตรงกลาง ด้วยวางเปยสล (๙ เป๙๙) ใช้ในภาษา บาลี ๑๑๙ใช้ในภาษาไทย) เหล่าไว้บ้างหน้านั้นบ้าง เช่น อุตสสุม นาม คามู วาน นิคม วา อติฏิ พา วา พุทธ สรณ คติ โหติ ฯ ถานวิภาคารโต. [อ่านบทกฐรปนฺ ๓๘๐] บางทีจะข้างท้าย ด้วยวาง อิติวาจิตตะ เช่น อิธ ปน ภิกขเว เอกจุฬ กลุปลุตต ฌมนิ ปริญญานิสุทธิ สุตฺ ตเคยยุค ฯ ปริญญาตรีนิยมฯ โน ม. [กฐุปลุตต]๓๙ ข้อที่จะไว้อย่างนี้ ไม่ต้องเติม เรียกว่าเป็นเกราะบอก สัมพันธ์ ฯ อีกอย่างหนึ่ง ละได้ด้วยวางคำแทน เช่นวางตาถอนูกทฺ นัตถิภิทฺความท่อนต้นเพื่อไม่ต้องพูดซ้ำ อย่างนี้ก็ไม่ต้องเติม เพราะมีคำแทนอยู่แล้ว ส่วนข้อนี้จะไว้ อั้นจำต้องเติมเข้ามา คือบท นามบ้าง มกิรบ้าง สัพพันิวนบ้าง ที่จำเป็นต้องมีในประโยค แต่ ละไวเพราะเข้าใจไปเอง เช่นนี้ จ้ำต้องเติมเข้ามาตามที่ต้องการในประโยค
(๒๕) หลักเหล่านี้ก็ควรบรรจุโดยสังเขป ผู้ประกอบจะรู้ได้ จำต้องขวนขายคอธิบายในที่นี้ๆ ทั้งในทางแปล ทั้งในทางสัมพันธฺ เพราะหลักเหล่านี้ ใช้ได้ในทางแปลด้วย เมื่อแปลได้ก็บอกสัมพันธฺ ได้ หรือเมื่อบอกสัมพันธฺ ได้ ก็แปลได้ เป็นนักเรียนกะเพ่งแปลให้ได้