ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายภาพสัมพันธื เล่ม 2 - หน้าที่ 165
รู้จักวิธีแปลและแปลได้ ถึงจะแปลศัพท์ไม่ออก ก็ให้รู้เข้าใจของบทตอบ.
(๑๙) ข้อสำคัญต้องคิดให้รู้ความที่เน้นกันแล้ว เพราะเมื่อรู้ความเนื่องกันแล้ว จะวางอยู่ใกล้หรือไกลก็ตาม ต้องคุณเข้ามาเป็นท่อนเดียวกันได้ นักเรียนผู้ไม่รู้วิธีการสัมพันธืจึงไม่ต้องคำนึงว่า บทไหนจะวางอยู่ไหนในบทไหน คุมความเข้าใจกันได้ทันที แม้นั้นๆ จะวางอยู่ที่ไหน ก็ทาม.
(๒๐) อีกประการหนึ่ง ต้องรู้จักอรรถกับที่เกี่ยวข้องแต่ละชื่อสัมพันธื จึงจำต้องรบในสัมพันธืให้ตลอด ต้องจะแสดงความเข้าใจว่า บทไหนใช้ในอรรถไหน เรียงอย่างไร เข้าจากา นี้เป็นทางนำให้รู้วาบไหนเนื่องกันบทไหน.
(๒๑) ความเนื่องกันของบทบทนั้น ถ้าเป็นบทสมาส บางทีเนื่องกันไม่เต็มบทหรือไม่เต็มคำสมาส ที่เรียกว่าสัมพันธืจริงบท หรือครึ่งคำศัพท์ (สมาส) เช่น :-
อ. ที่ ๑
หาดใบปกาญาณมยู่ อุปสังเกตกว่า ปฏิจจานายย. [อนาถ- บิณฑึกาปูดตกล. ๑/๑๖] “พึงปิดความที่เราจะเป็นผู้รู้รางอุปโลส เพราะเหตุแห่งหาปนะ.” หาดใบปกาญาณม ยู่ เป็นเหตุ เข้าชนะแ อุปโลสิก-