อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม 2 - หน้า 88 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 2 หน้า 89
หน้าที่ 89 / 228

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ กล่าวถึงความสัมพันธ์ในประโยค รวมถึงอธิบายลักษณะของนาคโสณทิ โดยการทำความเข้าใจว่า นาคโสณทิ ไม่ใช่ชื่อสัมพันธ์ แต่เป็นชื่อนามที่เรียกตามวรรณกรรมที่ใช้ พร้อมทั้งอธิบายวิธีการแปลศัพท์ในรูปแบบที่ชัดเจน เช่น การแปลก่อนต้นแล้วจึงพูดถึงผลตามลำดับ และเมื่อแปลเต็มก็ต้องพิจารณาถึงเหตุและผลได้อย่างชัดเจน ซึ่งการเข้าใจในเรื่องนี้มีความสำคัญต่อการศึกษาและการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ในประโยค
-ลักษณะของนาคโสณทิ
-การแปลศัพท์
-การศึกษาและการใช้ภาษา
-วรรณกรรมที่ใช้ในคำอธิบาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม 2 - หน้า 88 อีกอย่างหนึ่งประกอบว่า สนตุคุคุณวุฒิ พุทธฉ, ยุวา นิพพาน สุขตน เทศิต. ประกอบสนุ ก็ท่ากับ ห หรือประกอบ ก็ท่ากับ ยสนุ น้ำเอง เพราะต่างก็ส่องความปฏิรามว่าเป็นเหตุของท่านต้น โมราณท่านจึงเรียกว่า นาคโสณทิ เพราะเหมือนนางมาช่าที่ทอดลงมา แล้วก็ออกขึ้นไป. กล่าวดังนี้ ข้อความที่กล่าวผลก่อน กล่าวเหตุ ภายหลัง, นาคโสณทิ เป็นชื่อของความท่อนหลัง because ส่องความ ปฏิราม คือย่อมกลับไปหาท่อนต้น. นาคโสณทิ ไม่ใช่ชื่อสัมพันธ์, ชื่อสัมพันธ์นี่เรียกตามวรรณ ที่ใช้. อธิบาย : [๑๑ ] นาคโสณทิมีลักษณะอย่างไร ได้แสดงไว้ชัดเจน ในหัวข้อพร้อมทั้งตัวอย่างแล้ว, จะอธิบายแต่ที่ปลดออกไปประโยค ซึ่งนี้เป็นการแปลศัพท์หรือแปลโดยบัญญชนะ ท่านสอนกันมาให้ปลด แบบวงชี้ง คือแปลก่อนต้นที่กล่าวผลก่อน แล้วจึงแปลก่อนหลังที่ กล่าวเหตุ,ให้แปลเต็ม ที่(เหตุ) ด้านข้อความ, หรือให้แปลเต็ม สนุา ที่สุดข้อข้อความ, ถ้าแปลเต็ม สนุา ก็จะต้องมี สนุา รับ (เว้น แต่จะเปนสางจงฉิบ), จึงจำต้องชักเอาแต่ต้นบานเปลือกกรั้นหนึ่ง ให้เป็นประโยค คุสนุา, แตถ้าเต็ม ก็แปลว่าเหตุว่า, เพราะว่า ก็ไม่ต้องย้อนไปแปลก่อนต้นอีก.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More