ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคษะ - มังคลัตถาบนี้นิสมอ เล่ม ๕ - หน้าที่ 39
[บัญญัติศีลชื่อว่าพรหมจรรย์]
[๔๕๓] บัญญัติศีลชื่อว่าพรหมจรรย์ ในติติรชาดกว่า "ภิญญู
ทั้งหลาย บัญญัติศีลแสดง เป็นพรหมจรรย์ ชื่อว่า ติตติระ ( ของนก
กระทา ) นั้น."
{อัปปมัญญาศีลชื่อว่าพรหมจรรย์}
[๔๕๔] อัปปมัญญาทั้งหลาย ชื่อว่าพรหมจรรย์ ในมหาโวคิวท-
สูตรในมหาวารต พินิจว่า "ปัญญสิขะ ก็พรหมจรรย์นั้นแล ย่อม
เป็นไปเพื่อปิณฑา ( ความหนาแน่น ) หมาได้ เพื่ออารยะ ( ปราศ
กำหนด ) หมายได้ เพื่ออิฐฐ ( ความดับ ) หมายได้ ย่อมเป็นไป
เพียงเพื่อความเข้าถึงพรหมโลก."
[มนุษย์วิธีชื่อว่าพรหมจรรย์]
[๔๕๕] มนุษย์วิธี ( เว้นมนุษย์ ) ชื่อว่าพรหมจรรย์ ในโบสถ-
สูตรในติกนิบาต องคุตตรนิกาย และในพรหมาสตรสูตรเป็นต้นว่า
ละความประพฤติไม่ประเสริฐ มีปัจจัยประเสริฐ "
อรรถกถาอุโฆษตสูตรเป็นต้นว่า " บรรดาหล่านั้น ทว่า
อพุทธมนิจ ได้แก่ ความประพฤติไม่ประเสริฐ ชื่อว่า พรหมจารี
เพราะประพฤติอาจจะอันประเสริฐ คือ ล้มเลิก."
ภูมิอุโฆษตสูตรเป็นต้นว่า " บทว่า อาศุจรัญ ได้แก่
ความประพฤติของคนไม่ประเสริฐ คือ คบคา อีกอย่างหนึ่ง ได้แก่
ความประพฤติไม่ประเสริฐ คือราคา คือเรา อธิบายว่า เมถุน.
● ที่ มทา ๑/๒๕๕ ๒ ฉก. ๒/๒๒๓ ๓. ที่ สิ.๕/๕. ๔. มิน ปู ๒/๒๕๖