มังคลอธิษฐานเป็นแปล เล่ม ๕ หน้า ๑๐๓ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 103
หน้าที่ 103 / 174

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้กล่าวถึงการอธิบายมรรคอันเลิศและความหมายของคำว่ามานะสะ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอารมณ์และการตัดขาดจากความยึดมั่น พระอรรถกถาได้ยกตัวอย่างถึงภิกษุที่มีพรรษาต่างๆ โดยแบ่งเป็นกลุ่มตามจำนวนพรรษา เช่น ผู้ที่มีพรรษาไม่ครบ ๕ จะถือว่าเป็นนะ ขณะที่ผู้ที่มีพรรษา ๕ ขึ้นไปถึง ๑๐ จะถือว่าเป็นมัชฌิมะ และที่มีมากกว่า ๑๐ จะถูกเรียกว่าเถร ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าในทางธรรม นอกจากนี้ยังมีแนวคิดว่าพระอรหันต์เป็นผู้ที่ตัดความยึดมั่นได้อย่างแท้จริง โดยการทำความเข้าใจในสภาพของจิตที่ชื่อว่ามานะสะ.

หัวข้อประเด็น

-มรรคอันเลิศ
-อธิบายมานะสะ
-พรรษาของภิกษุ
-พระอรหันต์
-การตัดความยึดมั่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคี - มังคลอธิษฐานเป็นแปล เล่ม ๕ หน้า ๑๐๓ เหตุเพราะสัมปุตด้วยในขัน จิต ซื้อว่า มานะสะ เพราะทำอธิบายว่า ใจนั้นเอง ชื่อว่า มานะสะ มรรคอันเลิศ (มรรคที่สูงที่สุดคืออรหันต์- มรรค) ซื้อว่า มานะสะ เพราะเวียดบงว่า ชอบตัด คือ cut ดงซึ้ง มานะ โดยไม่เหลือ. ก็บันติพึงเห็นความที่พระอรหันต์ว่า มานะสะ เพราะเกิดขี้ว่าในนั้นนั้น. บาวว่า ขนสุภา ได้แก่ ผู้ปราถา คือยมค แบ่งไป ในสัตว์โลก." [๕๒๗] ในอรรถกถามงคลสูตรนี้ พระอรรถกถารยกว่่าว่า บทว่า สุต ควา มา แห่งกินกุ ไมตรีติ ผู้ในกลางกดี ผู้เถรดี อรรถกาถาปูมปราชญ์ว่า บรรดิกมูมิภิกษุผูเจริญโดยอัย เป็นต้น จงเป็นภิกษุปุถุไปุในหนุ่มตนหนึ่งก็ว่า ชื่อว่า เป็นเถร เพราะมี พรรวต๑๐๐ ชั่วว่า นะ เพราะมีพรรษาหย่อน ๕ ชื่อว่า มัชฌิมะ เพราะมีพรรษาเกินกว่า ๕. ฯ ฏีกาอธิษฐานสูตร ในปัญจวรรณะ ทุกติปนาณาส์ ในกินนิมาด อังคุตตรนีกายว่า "ภิญฺญ แม้อายุ ๖๐ ปีโดยกำเนิด ก่อนแต่กาลที่ เธอมีพรรษา ๕ โดยอุปสมบท ก็ชื่อว่า นะแท้ จำเดิมแต่กาล มีพรรษา จนถึงกาลมีพรรษา ๕ ชื่อว่า มัชฌิมะ ตั้งแต่กาลมี พรรษา ๑๐ ไป ชื่อว่า เถร. อรรถกถากาสมสูตร ในทุติวรรคเทพวาสียุตว่า ภิกษุมีพรรษา ยังไม่ครบ ๕ ชื่อว่า นะ จำเดิมแต่ ๕ พรรษาขึ้นไป เป็นมัชฌิมะ ตั้งแต่ ๑๐ พรรษาไป ชื่อว่า เถร อีกนอกจากนี้ ภิกษุมีพรรษายังไม่ครบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More