ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๙ - มังคลัตถทีเปิ้นแปล เล่ม ๕ หน้า ที่ 145
กว่าด้วยจิตเกษม
[๕๕๓] จิตที่ปลอดจากโโยค ๔ ชื่อว่า เกษม โโยคมีเพียงอย่างเท่านั้น ด้วยสามารถแห่งโลกา ทิฏฐิ และ โมทิ ถึงกระนั้นโโยคนัน ยอมเป็น ๔ อย่าง โดยชื่อว่า ฎามโโยคเป็นต้น ก็ปฏิรูปามีวิเคราะห์เป็นต้นแห่งโโยคนัน พระอรรถกถาจารย์ กล่าวไว้ในอรรถกถาทุกสูตร ในปฐมวรรคน ปฐมปัณณาสก์ ในทุกกนิบาตองค์สูตรนักอย่าทึ่งว่า "เกษมเหล่าใด ย่อมประกอบ (สัตว์) ไว้ในวิญฺญู เพราะฉะนั้น เกษมเหล่านั้น ชื่อว่า โโยคะ รายที่เป็นไปในเบญจกามคุณ ชื่อว่า โโยคะ ระที่เป็นไปในเบญจถามคุณ ชื่อว่า กาม โยคะ ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในรูปภาพและอรูปภาพ ชื่อว่า ภูโโยคะ อื่นๆ ความคิดในอานาม and ความกำหนด ที่สารก็ด้วยสัตถกิริยา ชื่อว่า ภวิฺญู ๖๒ ชื่อว่า ทุติยโโยคะ ความไม่รู้ในจิต ๔ ชื่อว่า อภิชฺชโโยคะ อีกอย่างหนึ่งก็สละใด ย่อมประกอบ (สัตว์) ไว้ในกามทั้งหลาย เพราะฉะนั้น กิเลสนี้ ชื่อว่า ภูโโยคะ กิเลสใด ย่อมประกอบ (สัตว์) ไว้ในวจิิตรึทั้งหลาย เพราะฉะนั้น กิเลสนี้ ชื่อว่า ทุติยโโยคะ กิเลสใด ย่อมประกอบ (สัตว์) ไว้ในอวิชา เพราะฉะนั้น กิเลสนี้ ชื่อว่า อวิชฺชโโยคะ คำว่า กามโยคะ เป็นต้น เป็นชื่อของธรรมที่กล่าวแล้วในหนหลัง."
*พระสุงคลงมุนี (ผิว จิตโตโม ป.ธ.๓) วัดบวรมงคล แปล
๑. มิน ป. ๒/๓๓๕