มังคลัตถีบท: ความสำคัญและการศึกษาพรหมจรรย์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 48
หน้าที่ 48 / 174

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาและความสำคัญของมังคลัตถีบทในบริบทของพุทธศาสนา โดยมีการกล่าวถึงราชบุตรคามณีและการทรงศึกษาธรรมะ รวมถึงการอ้างอิงถึงพระอรรถกถาของพระอาจารย์ที่เน้นไปที่พรหมจรรย์ในบริบทของชีวิตและการปฏิบัติธรรม ผู้มีอายุและการอยู่ในพรหมจรรย์ของพระผู้มี พระภาค นอกจากนี้ยังมีการชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการเรียนรู้และการสร้างผลกระทบที่ดีในชีวิตจากคำสอนนี้.

หัวข้อประเด็น

-มังคลัตถีบท
-พรหมจรรย์
-พระอรรถกถา
-พระราชบุตร
-การศึกษาธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๑๓- มังคลัตถีบทนี้เป็นแปล เล่ม 5 หน้าที่ 48 [๕๑๓] ก็ในอัครกาล ราชบุตร พระนามว่าคามณี ทรงเป็นพระนิกฐาภาคองค์สุดท้องทั้งหมด ของพระราชบุตร ๑๐๐ องค์ ของพระเจ้าจุฬามณี ทรงอาศัยพระโพธิสัตว์ เป็นพระอาจารย์ผู้ให้ทรงศึกษาคำปิยะ ด้วยความเป็นพระราชาโดยลำดับไปแห่งพระอิศวร ทรงปลื้มพระหฤทัย ได้รัศมาดามนี้ด้วยสามารถแห่งอุตถน. เพราะเหตุ นั้น จึงทรงหมายเอา พระองค์ว่า คามณี ตรัสว่า "แนะคามณี ผู้เจริญ ท่านองค์นี้อย่างนี้ว่า เราเข้าอาจารย์ ล่วงพระเจ้าที่ ๓๐ พระองค์ ถึงสมบัติต้อนใหญ่นี้." [สมบูรณ์ชื่อว่าพรหมจรรย์] [๕๑๔] ส่วนในอรรถกถานี้ พระอรรถกถาจารย์ กล่าว เนื่องความไว้ว่า "สมรรถธรรม ชื่อว่า พรหมจรรย์ ในกรณีสูตรว่า พระธรรมสนามก็กล่าวว่า ผู้มีอายุ ท่านอยู่พรหมจรรย์ในพระผู้มี พระภาคของเราทั้งหลายหรือ? พระปุณณเถร ปภูญญา ว่าอย่างนั้น ผู้มีอายุ." อรรถกถาอรรถวินิตสูตรว่า "บรรดาบทเหล่านั้น หลายบทว่า ภาคิ โณ เป็นต้น ความว่า ผู้มีอายุ ท่านอยู่พรหมจรรย์ในสำนัก แห่งพระผู้มีพระภาค ของเราทั้งหลายหรือ?" อรรถกถาทุกนิบาตในอิติวุตตกะว่า "บทว่า ุวสติ แปลว่า อน --- ย่อมอยู่." ภูริพทม์อรรถสูตร ในแวดวงปฐมปันนาสก์ ในฎีกานินทนา อ้างคตินิกายว่า "บทว่า ุวสติ ความว่า ุวสติ (อ้น-----ยอดอยู่)." ๑. ม.ม. ๑๒/๒๖๐ ๒. ป.ส. ๒/๒๐๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More