ข้อความต้นฉบับในหน้า
อรรถกถาอิติวิธุตตะว่า “บทว่า ทุตมะ ตัอมา เป็นภาษาบาลี
หมายเอานิพพานครบ ๒ อย่างเหล่านี้ ตัอหาเรียกว่ากวณะ (เครื่องเพียงแข็ง) ธรรมชาติใด ออกไปแล้วอาคันตุกะ
ชื่อว่า วนะ เหตุนี้นธรรมชาตินั้นชื่อพวน อีกอย่างหนึ่ง ตัอหา ชื่อว่า วนะ ย่อมไม่มีในธรรมชาตินี้ เหตุนี้ ธรรมชาตินี้ชื่อว่า
นิพพาน อีกนัยหนึ่ง ความไม่มีแห่งตนหรือลักษณะว่า วนะ ในธรรมชาตินี้
ที่พระอริยคุปบรรลุแล้ว เหตุนั้น ธรรมชาตินี้ ชื่อว่า นิพพาน.
นิพพานนั้นนั่นแล ชื่อว่าถวดๆ เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่ชีิวะ
และเพราะอรรถว่า ทรงไว้ซึ่งภาวะของตน เหตุนี้ จึงชื่อว่า นิพพาน
ธาตุ. โดยปริมิต ตรรมัดกันแห่งนิพพานธาตุ ย่อมไม่ผิด แต่
ความต่างกัน ย่อมปฏิกูได้โดยปริยาย เหตุนี้ พระผู้พระภาค
ทรงหมายความต่างกันโดยปริยาย จึงตรัสว่า ทุตมะ ภิกขเว
นิพพานธาตุ โย ตามนี้แล้ว ตรัสว่า สุปปทิฆสม เป็นต้น เพื่อแสดง
ประเภทตามที่ทรงประสงค์.
พึงทราบวิจารณ์ในว่า สุปปทิฆสม นั้น (ต่อไป) สภาพ
ได อันก็กล่าวหามีตันเป็นต้น ย่อมเข้าไปอธิบายโดยความเป็นผล
เหตุนี้ สภาพนั้น ชื่อว่าอุปปาทิสด คือบับจัญจก อุปทินนี้แล ยัง
เหลือ จึงชื่อว่า อุปปาทิสด. นิพพานธรรม ย่อมเป็นไปกับด้วย
อุปปาทิสด เหตุนี้ จึงชื่ว่า สุปปทิฆสม นิพพานธรรม ชื่อว่า
อุปปาทิสด เพราะไม่มีอุปปาทินั้น."