มังคลัตถสูตรและอริสัจในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 58
หน้าที่ 58 / 174

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความเข้าใจในมังคลัตถสูตรและอริสัจ โดยชี้ให้เห็นถึงสภาพของทุกข์ที่เป็นของแท้และไม่ลวงตา ซึ่งพระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายไว้ โดยมีแนวคิดเรื่องความเป็นจริงที่ทำให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจและตระหนักถึงทุกข์ในชีวิตได้อย่างชัดเจน ส่วนอริสัจนั้นยืนยันความไม่ผิดพลาดและความเป็นของแท้ของหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่นำไปสู่การตระหนักรู้และการปล่อยวางจากทุกข์ในชีวิต. เว็บไซต์ dmc.tv จะนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-มังคลัตถสูตร
-อริสัจ
-ความเป็นของแท้
-การรับรู้ทุกข์
-พระอรรถกถาจารย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคนี้ : มังคลัตถสูตรนี้ว่า " ว่าด้วย สภาพวิญญาณคุณ ความว่า ทุกข์ ชื่อว่าเป็นของแท้ คือความเป็นของแท้เป็นสภาพ เพราะในกลไลไร ก็ไม่ละสภาพคือความเป็นทุกข์ของตน. ด้วยเหตุนี้ พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ทุกข์มฺญ ทุกขมฺมฺวา. บทว่า สภาพความสุข ได้แก่ สภาพคือ ทุกข์ตามที่กล่าวแล้ว. บทว่า อโมนตาย คือ เพราะความที่แห่งทุกข์ นั้น เป็นสภาพไม่หลอกลวง. บทว่า อวิตติ คือ เป็นของแท้. ด้วย เหตุนี้ พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ' น ทิ ทุกข์ อทุตาม นาม โคติ.' บทว่า อญฺญสภาพานูปมํน คือ เพราะไม่เข้าถึงความเป็น สภาพมีสมุทัยเป็นต้น. บทว่า อญฺญส คือ ไม่เป็นสภาพอย่างอื่น. ด้วยเหตุนี้ พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่าคำว่า น ทิ เป็นต้น." [๒๕๗] ลังกามัลล ของพระอธิการพระองค์นั้น เพราะเหตุนี้จึงชื่อว่า อริสัจ. สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในตัวรรครแห่ง ลังก่าสุงอยู่นั้นแล้ว " ภิกษุทั้งหลาย อริสัจ ๔ เหล่านี้แลเป็นของ แท้ ไม่ผิด ไม่เป็นอย่างอื่น. เพราะเหตุนี้ บท ๔ เหล่านั้น นันติต จึงกล่าวว่า อริสัจ ลฺวาณี." บาลีตคถุสูตร จบ. [๒๕๗] อรรถกถาดรุตสูตรนี้ว่า " หลายบทว่า ตุตม อรินาถ ลฺวาณี เพราะลักษณะหลายเป็นของแท้ ไม่ผิด ไม่เป็น อย่างอื่นไปได้, ฉะนั้น บัดนี้จึงกล่าวว่า อรินาถ ลฺวาณี เพราะว่า พระอริยเจ้าทั้งหลาย ยอมแทงตลอดซึ่งบงบทั้งหลายที่ผิดโดยความเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More