ข้อความต้นฉบับในหน้า
প্রโยคธ์ - มังคลดฺภนีนี้นีมปล เล่ม ๕ หน้าที่ 99
[๕๕๕๕] มโน ชื่อว่า จิต. ด้วยเหตุนี้ ในหมวดธรรมมี จูร ธิดาฯเป็นต้น ท่านจึงกล่าวว่า "ชื่อเหล่านี้ คือ จิตตะ มโน มานสะ วิญญาณะ ทะยะ มนะ ย่อมเป็นไปในกองแห่งโวหาร (คือใช้พูดกัน)" ฯ
ภิฏิกาอธิบมัตถสงเคราะห์ว่า "ธรรมชาติที่ชื่อว่า จิต เพราะอรรถว่า ย่อมคิด. อธิบายว่า ย่อมรู้แจ้งซึ่งธรรม" ฯ
อนุฏิฆามณิสาระว่า "จิตฺตฺ ธาตุ เป็นไปในอรรถว่า คิด กิเลสความคิดนั้น มี ๓ อย่าง คือ อุณฺฉนฺตุ (คิดด้วยอาณาจักรความตรี-ตรอง) วิจาณฉนฺตุ (คิดด้วยอาณาจักรความรู้แจ้ง) ปุญฺฉนฺตุ (คิดด้วยอาณาจักรความทราบชัด) ในความคิด ๓ อย่างนั้น อุณฺฉนฺติ ได้แก่ วิภาค วิจาณฺฉนฺตุ ได้แก่ วิญฺญาณฺปิฺติ ปุญฺฉนฺตุ (คิดด้วยอาณาจักรความทราบชัด) ได้แก่ ปัญญา. แต่ในทว่า จิตตฺ ตี นี้ ได้แก่ วิญฺญาณฺฉตา เพราะความที่จิตเป็นธรรมชาตู้แจ้ง (ซึ่งอารมณ์) เพราะเหตุนี้ พระภูวารย์ เมื่ออธิษฐาน จิตตฺ ศัพท์นั้น จึงกล่าวว่า 'อธิษฐานว่า ย่อมรู้แจ้ง' แจ้งซึ่งอารมณ์ ฯ อธิบายว่า ศัพท์ว่า วิญฺญาณติ นี้ เป็นศัพท์อธิบายบทว่า จินตติ นี้ อีกประกาศหนึ่ง กิริยาคือความรู้แจ้งในบทว่า วิญฺญาณติ นี้ เป็นอธิบายว่า จินตติ นี้" ฯ
[๕๖๐] หมวดธาตุ จูร ธาตุ เป็นคำว่า "อิฏฺฐฺ ธาตุ" เป็นไปในอรรถว่า คิด, ธรรมชาติด่อยคิด อธิบายว่า ย่อมรู้แจ้งซึ่ง