มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๕ หน้าที่ ๔๗ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 47
หน้าที่ 47 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับอัษฏสัมปชัญญะที่มาจากโอวาทและพระวาทะ โดยได้กล่าวถึงการปฏิบัติทางใจที่ประเสริฐและการวิเคราะห์ของพระอรรถกถาจักรในอรรถกถาสามัญสูตร การอธิบายถึงคำว่า 'อัชฌาสัย' ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเป็นผู้ปฏิบัติตามโอวาทและความสำเร็จในทางธรรมซึ่งสำเร็จตามความปรารถนา การพัฒนาในชีวิตทางจิตใจและการดีทางธรรมจึงเป็นหัวข้อที่ถูกเสนอในบริบทนี้

หัวข้อประเด็น

-อัษฏสัมปชัญญะ
-ธรรมเทวนา
-พระอรรถกถา
-การปฏิบัติทางใจ
-พุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๕ หน้าที่ ๔๗ โอวาทเต็มเปี่ยมแล้ว. จริงอยู่ อัษฏสัมปชัญญะพระราชหนุ่มทรงพระนามว่าคามณี กล่าวโดยสำนวนว่าพระมงคลวร เพราะเป็นความประพฤติทางใจอันประเสริฐ [๕๐๒] บรรดาธรรมเทวานาและอัษฏสัมปชัญญะนั้น ธรรม-เทวนา พระอรรถกถาจักรกล่าวไว้ในอรรถกถาสามัญสูตรเป็นต้นว่า "โดยเนื้อความ ธรรมเทนานะคือลธรรมอันสงเคราะห์ด้วยสิกขา๓ จะมีประโยชน์อะไรด้วยอธิษฐานเทสนานั้นไงแผนหนึ่ง ๆ" อย่าง กล่าวพระอรรถาธิบายกล่าวไว้ว่า "อัชฌาสัยชื่อวา พรหมวรรย์" ย่อไม่สมด้วยอรรถกถาความนิชchod ในปฐมวรรค เอกนิมต. [แก้ฮรร] ก็คืออรรถกถานั้น พระอรรถกถาจักรกล่าวว่า "คำว่า อัชฌาสัย" สักวาเป็นนิบ腿 บทว่า อตรมานะ ความว่า ผู้ลี้งอยู่ในโอวาทของบัณทิตทั้งหลาย ไม่รีร้อน คือไม่ประพฤติอวดดี กระท่อกรรมัโดยอายุย่อย หลายบทว่า ผลา ว เป็นต้น ความว่า ผลที่หวังคือผลตามที่ปรารถนา ย่อมสำเร็จทีเดียว. ในว่า วิปกุพรุทุม- จริยสม นี้ สังกจะดูที่อุฏฐดังกล่าวว่า พรหมวรรย์ เพราะเป็นความประพฤติประเสริฐ. ก็พรหมวรรย์นั้น ชื่อว่าสำเร็จแล้ว เพราะสมบัติอันมีในสังหวัสดุนี้เป็นบุญญ อันพรหมวรรนี้ได้แล้ว. อันัย สตม์ที่สำเร็จแล้ว ชื่อว่าว่า พรหมวรรย์ เพราะอรรถว่าประเสริฐ." ๑. ชาตกฎฎกถกา. ๑/๑๐๘.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More