ความเศร้าโศกในธรรมะ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 123
หน้าที่ 123 / 174

สรุปเนื้อหา

โดยการศึกษาเรื่องพระเจ้าตราธนันและเจ้ามาดามคำ สอนให้เข้าใจถึงสาเหตุของความเศร้าโศกและวิธีบรรเทา โดยการมีจิตใจที่ตั้งอยู่ในธรรม. เช่นเรื่องของพราหมณ์ที่ต้องเผชิญกับการสูญเสียและความพินาศ จะเห็นได้ว่า การละเว้นจากความเศร้าโศกได้ด้วยการมีจิตใจที่ดีและเข้าใจในชีวิต. ข้อคิดที่ได้คือการพยายามจัดการอารมณ์และใช้ธรรมะเป็นแนวทางในการรักษาจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาความเศร้าโศก
-บทเรียนจากพราหมณ์
-การมีจิตใจที่ตั้งอยู่ในธรรม
-การบรรเทาความเศร้าโศก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๖ - มังคล็ดที่เป็นเปล เล่ม ๕ หน้า ๑๒๓ พระเจ้าตราธนัน แม้ผู้อื่นทุกธรรมถูกต้องแล้ว ไม่ทรงเศร้าโศก ย่อมยังมานให้เกิดได้ ด้วยประการดังนี้ เรื่องพระเจ้าตราธาน จบ. แม้เรื่องที่สายแล้ว บันเทิดควรตรวจดูในตกโรคชาดก ในทุกอวรรค์ จุตุกนิบาท (และ) ในอนุโสชาดก ในตกวรรค์ จุตุกนิบาทนั้นแล. [๕๘๐] อีกอย่างหนึ่ง ธรรมาภูชุน ย่อมไม่อาจเพื่อจะเป็นผู้ไม่เศร้าโศกในกาลทุกเมื่อได้เลย เพราะเหตุนี้ บุคคลผู้อื่นโลกธรรมอันเป็นเหตุแห่งความโศกถูกต้องแล้ว ถึงเมื่อต้นจะเศร้าโศกภายหลังควรบรรเทาความโศกนั้น ด้วยจิตมีธรรมเป็นต้น เพราะเมื่อกระทำอย่างนี้ ย่อมได้สุข ก็ในข้อนี้ มีเรื่องพระมาดามคำในคนหนึ่งเป็นต้น เป็นอุทาหรณ์ [เรื่องพราหมณ์คนใดคนหนึ่ง] ได้นิยมาว่า พราหมณ์คนหนึ่ง ชาวกรมสุวดี ท่านใกล้ฝั่งแม่น้ำอิรวดี เมื่อข้างล่างลำแล้ว ทำความตกลงใจว่า"พรุ่งนี้แหละเราจักเกี่ยว ดังนี้แล้ว กินอนเสีย." ก็ในคืนนั้น ฝนลูกเห็บ ตกเหนือแม่น้ำอิรวดี. ห้วงน้ำใหญ่ พัดเอาข้าวกล้างทั่งหมดไปสู่ทะเล ไม่ให้เหลือไว้แม้เพียงทะนีเดียว เมื่อห้วงน้ำลดแล้ว พราหมณ์เห็นความพินาศแห่งข้าวกล้า ถูกความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More