ความหมายและความสำคัญของพระมหาจริยในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 43
หน้าที่ 43 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับพระมหาจริยในศาสนาพุทธ อธิบายถึงความสำคัญและชนิดต่าง ๆ ของพระมหาจริยที่มีผลต่อการเกิดและความเจริญของภิกษุผู้มีศีลบริสุทธิ์ โดยอธิบายว่า พระมหาจริยแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ พระมหาจริยชั้นต่ำ พระมหาจริยชั้นกลาง และพระมหาจริยชั้นสูงสุด ซึ่งทุกชั้นมีบทบาทในการนำพาภิกษุเข้าสู่พระอรหันต์ได้ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงการฝึกฝนและปฏิญญาที่เกี่ยวข้องกับพระมหาจริยตามคำสอนในพระสูตร และความหมายของพระมหาจริยในบริบทของศาสนา

หัวข้อประเด็น

-พระมหาจริยและศีลบริสุทธิ์
-ความสำคัญของศาสนา
-การเกิดและความเจริญในภิกษุ
-การฝึกปฏิบัติในพระพุทธศาสนา
-อธิษฐานและลิกขา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสั้น - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๕ หน้า ๔๓ แต่ในศาสนานี้ พระมหาจริยแห่งภิกษุผู้มีศีลบริสุทธิ์ ปรารถนา เทพนิยายชั้นใดชั้นหนึ่ง ชื่อว่า อย่างต่ำ เพราะมีเจตนาเฉลียว, ภิญโญ ย่อมเกิดในทิวโลกตามที่ปรารถนา ด้วยพระมหาจริยขั้นนั้นนั่น. ส่วน ความมั่งสมบัติ ๔ ให้เกิดแห่งภิกษุผู้มีศีลบริสุทธิ์ ชื่อว่า พระมหาจริย ชั้นกลาง, ภิกษุย่อมเกิดในพระมหาโลกด้วยพระมหาจริยขั้นกลางนั้น. " ความเจริญวิบัติสนานบรรลุพระอรหันต์ แห่งภิกษุผู้มีศีลบริสุทธิ์ ชื่อว่า พระมหาจริยชั้นสูงสุด, ภิกษุย่อมหมดจดด้วยพระมหาจริยชั้นสูงสุดนั้น. ภูมิภาสพินาศนาถว่า " บวว่า อุดมทมวาสน คววาม่าว่า ด้วยสามารถฝึกฝนอันเป็นไปโดยอาการ คือทำตามพระอธิษฐานทั้งหลาย ตามปฏิญญา, อธิษฐานว่า ด้วยความฝืนอินทรีย์ทั้งหลายมีนะเป็นที่ " [อธิบายพระชื่อว่าพระมหาจริย] [๕๐๕] อธิบายว่า พระมหาจริย ในพระมหาจริยสูตร ใน สังยุตต์นิกาย มหา (วาร) วรรคว่า " ภิกษุทั้งหลาย ก็พระมหาจริย เป็นไฉน? มรรคนมงศ์ ๓ อันเป็นอธิษฐานนั้นแล, นี้คืออะไรบ้าง? คือ สัมมากฤทธิ์ เป็นดัง." พระภิกษาจารย์ กล่าวว่าในภูมิภาสสนานสูตรว่า " อธิบรค ชื่อว่า พระมหาจริย เพราะเป็นความประพฤติประเสริฐ ถึงความเป็น ลิกขา." [ศาสนาชื่อว่าพระมหาจริย] [๕๐๗] ศาสนา (คำสั่งสอน) ชื่อว่า พระมหาจริย ใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More