ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปราจนาคุณว่าธรรมเป็นที่สุด ไปแห่งกิสร ด้วยเหตุนี้ พระอรรถกถาจึงว่า "เมื่อกิสรทั้งหลายยังไม่สิ้นไปเลย โคตรภูญาณ ย่อมทำธรรมเป็นที่สุดให้เป็นอารมณ์ได้ (อย่างไร?)" ก็เมื่อการทำธรรมเป็นที่สุดถึงไม่บรรลุให้เป็นอารมณ์มีอยู่ แม้จิตก็พึงหน่วงได้กว่ากโตรภูญาณ" ดังนี้ คำนี้ต้นว่า ตสฺม เป็นคำกล่าวอ้างอรรถที่ท่านกล่าวแล้วนั่นเอง แต่尼พพานนี้นั้น (หาเป็นเพียงธรรมเป็นที่สุดถึงนั่นไม่ เพราะความเป็นธรรมชาติ อันพระผู้พระภาคทรงสถาพรว่า เป็นธรรมไม่มีรูป ดังนี้ใน หมวก ๒ มีว่า 'ธรรมไม่มีรูป เป็นต้น ) พึงเห็นการ สงเคราะห์ธรรมทั้งหลายมีโลภจรธรรมที่อาศัยได้เป็นต้น ด้วยอากาศ ผลคำว่า วรภูมิ. มนฺภิตดิโกติทิสฺว> ส่วนความที่ นิพพานนั้นเป็นบริสุทธิธรรม พระผู้พระภาคทรงแสดง ด้วยการ ถือเอาความเป็นธรรมมิใช่รูปเป็นต้น ในที่สุดว่า 'ไม่เป็นแต่เพียงธรรมเป็นที่สุดถึงนั่น' แท้จริง ความที่พามีคุณชาติมา เพราะความเป็นคุณชาติสกฏว่า ธรรมเป็นสิ้นสุด ย่อมถูก, กิลาสมีประมาณเท่าใดสันไป, นิพพาน ก็มิประมาณเท่านั้น; เหตุนี้ ความที่นิพพานเป็นสภาวิกสิ่งเป็นต้น โดยหยั่งไม่ได้ และความเป็นสภาวะนี้จะจบปรับแต่งไม่ได้เป็นต้น มิพึงมี. และบัณฑิตก็ตล่าวความที่นิพพานเป็นสภาวิกสิ่งเป็นต้น เป็นอันนี้นาไงแล้ว. เพราะฉะนั้น ควรเชื่อความที่นิพพานนั้น เป็นที่ดับสนิท. พึงถึงความตนลงในอธิฏารนี้ว่า 'กตุณามิธรรม