การอธิบายธรรมชาติของนิพพานและการสิ้นกิเลส มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 88
หน้าที่ 88 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทความนี้อธิบายถึงแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนิพพานและการสิ้นกิเลส ตามคำสอนของท่านสกาวอาจารย์ โดยยกคำถามที่ท่านปราวอาจารย์ได้ถามเกี่ยวกับสาระสำคัญของการกล่าวถึง 'สิ้นแล้ว' และ 'จกิ้น' เพื่อเน้นถึงการทำความเข้าใจในธรรมปฏิบัติและสภาวะธรรมชาติว่าควรต้องมีการตระหนักถึงธรรมชาติใดที่เป็นนิพพาน ซึ่งเป็นการสำรวจลักษณะอันลึกซึ้งของการหลุดพ้นจากกิเลสและความเป็นจริงทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-นิพพาน
-กิเลส
-การอธิบายธรรม
-พุทธธรรม
-สกาวอาจารย์
-ปราวอาจารย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕- มังคีลกัตถีนีแปล เล่ม ๕ หน้า๘๘ ท่านสกาวอาจารยะกล่าวว่า ก็เลยอธิบายใคร ๆ ไม่พึงกล่าวว่า "สิ้นแล้ว" หรือว่า "กำลังกิ้น" แต่อย่าว่า "จกิ้น" ท่านสกาวอาจารย์ พึงถามว่า ก็เมื่ออธิบายสั้นนั้นยังไม่สิ้นเลย โดดตรงภูญาณจะทำธรรมเป็นก็สิ้นกิเลสให้เป็นอารมณ์ได้ อย่างไร ? เมื่อท่านปราวอาจารย์กล่าวอย่างนั้น ท่านสกาวอาจารย์จึงเป็นผู้ไม่มีคำตอบแน่แท้ ก็โดดตรงนั่น ควรประกอบแม่ด้วย มรรถบญาณ เพราะว่า แม้ในขณะแห่งมรรถบญาณ ก็ลอดทั้งหลายใคร ๆ จะกล่าวไม่ว่า "สิ้นแล้ว" ว่า "จกิ้น" และเมื่ออธิบายทั้งหลายยังไม่สิ้นนั่นแล ธรรมเป็นก็สิ้นกิเลส ามเป็นอารมณ์ไม่ได้ เพราะฉะนั้น ควรรับรองคำนี้ว่า "ควรเป็นต้นมาจงธรรมชาติใด ย่อมสิ้นไป, ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า นิพพาน แห่งพฤหะนั่น ถ้าเป็น เพียงธรรมเป็นก็สิ้นกิเลสเท่านั้นไม่ เพราะความเป็นธรรมชาตินพระผู้พระภาคทรงสด กระจะว่า "ธรรมไม่มีรูป" ดังนี้ไว้ในหมวด ๒ มีว่า 'ธรรมมีรูป ธรรมไม่มีรูป' เป็นฉัน" [๔๕๑] ผู้ก็ชื่นชมพุทธสูตรนั้นและก็อาจอธิบายได้ว่า "ในคำนี้ว่า นิพพาน อาคมุ มิมีฉ่อยว่า: บทว่า อาคมุ ความว่า เพราะการทำให้แจ้งด้วยมรรค แห่งพระอริยบุคคลเมื่อหน่ายอยู่ใน สังขารทั้งปวง ผู้อ่อนใจไปในวิสังขาร (นิพพาน) มิมีสันโดษ-ภูญาณให้จิษณแล้ว. ๑. เปิดแล้ว ก็ว่า.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More