การเข้าถึงพระอรหัตผลและนิพพาน มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 84
หน้าที่ 84 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับพระอรหัตผลและนิพพานในพระพุทธศาสนา มีการอธิบายถึงความสำคัญของการทำความเข้าใจและการปฏิบัติตามหลักธรรม ทั้งยังเจาะลึกถึงการเข้าถึงนิพพานและการหลุดพ้นจากอาสวะต่างๆ ภายในบริบทของพระไตรปิฎก โดยพระอรหัตผลเป็นการรักษาความตระหนักรู้ทางธรรมชาติ การไม่ยึดติดในอาสวะและอุปาทาน จึงนำไปสู่ความสงบและการหลุดพ้นอย่างแท้จริง พร้อมยกตัวอย่างจากอรรถกถาเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ.

หัวข้อประเด็น

- พระอรหัตผล
- นิพพาน
- อาสวะ
- อุปาทาน
- การหลุดพ้น
- พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - มังคลัตถกิจนี้เป็นแปล เล่ม ๕ หน้า 84 อรหัตผลวา อนุปทาเปรียนนิพนธ์ เพราะพระบาถล่าวา จงติดอม หยุดพันธ์จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ง บว่า น จ อุปาทาน- สมุจฺจุ ความว่า พระอรหัตผลนั้น หามีธรรมชาติโปรด ด้วยอุปาทานทั้งหลาย คือเป็นไปด้วยอุปาทานทั้งหลาย แม้วย สามารถที่ตกไปนออุปาทานอย่างหนึ่งย่อมถือธรรมอะไรไม่. หลายบว่า กฎจิ ธมฺม อุปาทิยติ ความว่า ย่อมยึดถือด้วยสามารถการทำธรรมนะอะไร ๆ ให้เป็นอารมณ์ไม่. บว่า ปริวทพุณฺณ ความว่า เพราะความเป็นธรรมชาติ เกิดในที่สุดความดับปวดแดงกล่อมรรค์ที่เลิศ พึงทำ." [๕๕๕] พระอรหัตผลนั้นแหล ขื่อว่า นิคพาน นมัในมงคลข้อ ว่า "นิพพานสถิติจริยา" นี้. ด้วยเหตุนี้น พระอรหัตกาจร จึง กล่าวไว้ในอรรถกถาว่า " พระอรหัตผล พระผู้พระภาคตรง ประสงค์ว่า "นิพพาน" ในมงคลข้ออ.ันะ จริงอยู่ พระอรหัตผลนั้น ตรัสว่า "นิพพาน" เพราะเป็นธรรมชาตออกไปจากตีนา อันรู้กัน แล้วว่า นะ เพราะร้รอรัคตั่ง ๕ ไว้. ส่วนการทำนันพรานอกนี้ ให้แจ้ง สำเร็จได้ด้วยการเนีบร์อิสั้งหลาย่นและ; ด้วยเหตุนี้น นิพพานนอกนี้นั้น จึงไม่ทรงประสงค์ในมงคลข้ออันนี้." บรรดาบทเหล่านั้น บอกว่า ปญฺญาควาเนความว่า เพราะ ร้อยรัดติ ๕ ไว้. [๕๕๕] ส่วนในภูฏกอภิมัมตสังฆะ พระภุฏกาจรกล่าวไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More