ความไม่หวั่นไหวในธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 105
หน้าที่ 105 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอธิบายถึงความรู้ในการไม่หวั่นไหวจากโลกธรรมต่างๆ โดยยกตัวอย่างบัณฑิตซึ่งมีความมั่นคงเหมือนภูเขาศิลาทำทีบที่ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งภายนอก เช่น รูป เสียง กลิ่น รส และผัสสะ นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงการรักษาศีลและการไม่โกรธซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาตนเองเพื่อไม่ให้ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมกับผลกระทบจากโลกธรรมเหล่านั้น ความรู้และทักษะเหล่านี้ถูกกล่าวถึงในพระอภิธรรมที่ช่วยให้ผู้ปฏิบัติธรรมสามารถยืนหยัดอยู่ได้ในทุกสถานการณ์โดยไม่ตกอยู่ภายใต้การกระทบกระทั่ง และการชื่นชมที่ไม่ใช่ให้ตนเองต้องอ่อนแอลงได้

หัวข้อประเด็น

-พระธรรม
-บัณฑิต
-ความไม่หวั่นไหว
-โลกธรรม
-พระอภิธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มั่งคลิดที่เป็นเปล เล่ม ๕ หน้า 105 ธรรมาภิพัฒน์ ย่อมไม่โกรธไม่ประทุษร้ายเลย เพราะว่าพระภิพัทธ์เหล่านั้นเป็นผู้ซึ่งศีลาทำทีบ ไม่หวั่นไหว อันใคร ๆ ให้หวั่นไหวไม่ได้ ดังนี้แล้ว ศรีพระอากาศนี้เป็นบัณฑิตตราแห่งพระธรรมว่าผู้กล่าวธรรม "บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมไม่หวั่นไหวในเพราะนิบทและสรรเสริญ เหมือนภูเขาศิลาทำทีบไม่หวั่นไหวเพราะละมัน" อรรถกถาพระธรรมบทนั้นว่่า "บรรดาบทเหล่านั้น บงกล่าวว่านินทาปลาสุข มีวิตฉันว่า ในพระอภิธรรมนี้ พระผู้พระภาค ตรัสโลกธรรม ๒ ประการก็จริง ถึงดังนั้น ผู้กล่าวธรรมเนื้อความด้วยอำนาจแห่งโลกธรรม ๘ ประการ เหมือนอย่างว่า อุเบกขาศาถึบ คือไม่โมโห ย่อมไม่หวั่นไหว คือไม่ละทิ้งได้แก่ ไม่เฝื่อเอง เพราะฉะนั้นด้วยผลออกมาที่ผมมาจากทีปฏิรูปติเป็นต้น ฉันใด บัณฑิตทั้งหลาย เมื่อโลกธรรมทั้ง ๘ ครอบงำอยู่ ย่อมไม่หวั่นไหว คือไม่อ่อนเอย ไม่สะเทือน ด้วยอำนาจแห่งความกระทบกระทั่ง หรือด้วยอำนาจแห่งความยินดี ฉันนั้น" [๒๕๖๕] ส่วนในอรรถกถา ท่านกล่าวว่าใครว่า "ภูเขาศิลาทั้งทีบ ย่อมไม่หวั่นไหวเพราะลม ฉันใด รูป เสียง กลิ่น รส และผัสสะทั้งมวล และธรรมอันนำปรารภาเลยไม่ปรารถนา จะยัง ๑ ขบ. ม. ๒๕/๒๕ ๒. ป. โช. ข. ๑๖๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More