มงคลแห่งความก้าวล่วงสังสารทุกข์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 65
หน้าที่ 65 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสังสารทุกข์และมงคลแห่งการเห็นทุกข์ ความดับทุกข์และข้อปฏิบัติที่นำไปสู่ความดับทุกข์ ซึ่งพระผู้มีพระภาคได้ตรัสถึงความสำคัญของการเข้าใจเหตุของทุกข์และการดับทุกข์ในบทพระสูตรต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-มงคลและความทุกข์
-การดับทุกข์
-ข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา
-การเข้าใจเหตุและผลของทุกข์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลัตถทีปิสนีปนีเล่ม ๕ หน้า ๖๕ เป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่งความก้าวล่วงสังสารทุกข์ได้." [๒๕] กล่าวว่า อภิสมอแลน นี้ พระอรรถกถาจารย์กล่าว หมายอามตรัสอธิษฐานญาณดลย. ด้วยเหตุนี้นั่น พระผู้มีพระภาค จึงตรัสว่า "ภิญญทั้งหลาย ผู้ใดอ้อมเห็นทุกข์ ผู้นันอ้อมเห็น ทั้งเหตุให้ทุกข์เกิด ทั้งความดับทุกข์ ทั้งข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ผู้ใดอ้อมเห็นเหตุให้ทุกข์เกิด ผู้นันอ้อมเห็นทั้งทุกข์ ทั้งความดับทุกข์ ทั้งข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ผู้ใดอ้อมเห็นเหตุให้ความดับทุกข์ ผู้นันอ้อม เห็นทั้งทุกข์ ทั้งความดับทุกข์." * บาลีวัคโปลิตสูตร โนติตวรรณแห่งสังสัจ.* [๔๐] อรรถกถาวิมปฏิสุตรนั่นว่า "คำว่า โย ภูกวา ทุกข์ ปสติ ทุกสมุทยามิ โส ปสติ เป็นต้น พระผู้มีพระ ภาคตรัสไว้ด้วยสามารถความแทนตลอดด้วยอำนาจวงเดียวย. เพราะว่า ความแทนตลอดด้วยญาณคงดีดาก อันพระองศ์ตรัสไว้แล้วใน พระสูตรนี้." ภิฏฏาความปฏิสุตรนั่นว่า "ความแทนตลอดซึ่งจะือ ๔ ในขณะ เดียวกัน ด้วยอำนาจวงเดียวนั่นแห ลือว่า เอกปฏิภูโต." [๔๓๑] ก็อุฏิ ไม่เห็นซึ่งจะ ๔ ผู้นันอิ่มไม่สามารถทุกข์ไปได้. เพราะสงสารของบุคคลเช่นนั้นอยู่ข้างทอง. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาค ๑ ส. มหาราช. ๔/๕๕๓. ๒ สา. ป. ๑/๕๐๑.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More