พระอรหัตผลและอุปาทานในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 174

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับพระอรหัตผลและอุปาทาน พร้อมทั้งอธิบายความหมายและการวินิจฉัยในพระพุทธศาสนา โดยมีการกล่าวถึงการแบ่งประเภทของอุปาทานและความเชื่อมโยงระหว่างอุปาทานกับปัญญา การวิเคราะห์นี้ช่วยให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจถึงความสำคัญและบทบาทของอุปาทานในการบรรลุพระนิพพานได้อย่างชัดเจน.

หัวข้อประเด็น

-พระอรหัตผล
-อุปาทาน
-นิพพาน
-ความสัมพันธ์ระหว่างอุปาทานและปัญญา
-การวินิจฉัยในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๕ - หน้า ๘๓ กล่าวพระอรหัตผล อันไม่ดัษตรเป็นไร ๆ เลย แม้ด้วยอุปาทาน ๕ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นไป ว่า อุปาทานนิพพาน ในคำว่า อนู- ปาทปนิพพาน จริงอยู่ พระอรหัตนั้นนหาเป็นธรรมชาติ สัมปุณด้วยอุปาทาน ย่อมมิเป็นธรรมะอะไร ๆ ไป และท่านกล่าวว่า ปริ นิพพาน เพราะเกิดในที่สุดแห่งความดับสิ้นแห่งเอกสิทธังหลายส่วน พวกอาจารย์กล่าวอุปาทานคือปัญญา กล่าวมตชาตอันไม่เกิดขึ้นด้วย อำนาจปัญญา อันปัญญาไม่จงงมเตงแล้วนั้น แจ้งว่า อุปาทาน" [๔๕๔] ฐานการวินิจฉัยสูตรนั้นว่า “พระอรธถารถาจารย์" กล่าว อนุปาทิเสสปนิพพาน ด้วยบทว่า อุปปจ nowันธูบนี้ เพื่อ จะแสดงอนุปาทานแม้โดยประการอื่น พระอรธถาจารย์ จึงกล่าวว่ามันเป็นนั้นว่า ทุข ว.บรรลุอุปาทาน ๒ อย่างนั้น อุปาทาน อันเป็นตัวความอึดอัด ชื่อว่า คหนุปาทาน ด้วยเหตุนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า อุปาทาน. ด้วย เหตุนี้นั้น พระอรธถาจารย์จึงกล่าวว่าปปจุปาทาน นาม ๆ เปน ปญจอธ อาจารย์ทั่งหลายผูกล่าวอุปาทานคือความยึดถือ ย่อมกล่าว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More