ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - มังคลัตถทีปิสนเปนฉบับ เล่ม ๕ หน้าที่ 154
จากกันไปแล้ว ย่อมมารวมกันต่อภายไม่นานนัก, อันนี้ ความเป็นผู้เป็นที่รักและเป็นที่ชอบใจในญามิตรมิของนั่น ไม่มีมันคง, ส่วนพระสงฆ์นี้ หากเป็นเช่นนั้นไม่, เพราะเหตุนี้ พระสงฆ์นั้น จึงช Arbitrary
แก้ของด้อนรับ; สัตว์ทั้งหลาย ย่อมรุ่งเรือง คือ เจริญด้วยสมบัติ ตามที่ประสงค์ ด้วยท่านสมบัติ นั้น เหตุนี้ ท่านจึงชื่อว่า ทุกขนิ
ได้แก่ ท่านที่บุคคลเชื่อมโลกจะพิสูจน์ พระสงฆ์สาวก ย่อมควรชำทธินัน หรือเป็นผู้ที่ถูกอริบเท่านั่น หรือย่อมยังทักษิณให้หมด โดยภาวะคืออธิกระทำทักษิณนั้นให้ผลมาก เหตุนี้ ท่านจึงชื่อว่า ทุกขนิยโย อัญชลี อนันฺถี อนฺนฺวฺี คุณความต้องการคด้วยบุญ (พึงทำในพระสงฆ์นี้ เหตุนี้ พระสงฆ์นี้ จึงชื่อว่า อญฺญลคฺรฺติโย
(อีกอย่างหนึ่ง พระสงฆ์อ่อนโยนด้วยอัญฺญลสมิรมน อันชาวโลกทั้งปวง ประคองมือทั้ง ๒ บนศีรระกะท้า เหตุนี้ ท่านจึงชื่อว่า "เป็นผู้อ่อนโยน อันเป็นคร้าคํอิิอันประคองอัญฺญลสมิร" เหตุนี้พระอรรถ-กาถารย์ยังกล่าวว่า "อญฺญลปุคคลคุณสฺ อญฺญจวิจิ" พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อุตตฺรติ ดังนี้ไว้ในบทสาธิรง ถึงกันนั้น นานอย่างนี้ คือ ประเสริฐกว่านาแห่งบุญนี้ ย่อมไม่มี เหตุนี้ นาแห่งบุญนี้ จึงชื่อว่าไม่มียิ่งกว่า พระอรรถ-กาถารย์ เมื่ออฉงฉบว่านว่า "นาแม่ที่สมอวไม่มี" ก็กล่าวว่า คำว่า "อาทิ" ดังนี้เป็นต้น เหตุนี้ ชีวิตไปคอคร่วาไว้แล้ว ย่อมป้องกันคอรารา โดยอ้อมกระทำความเป็นพิษมีผลมาก, อีกอย่างหนึ่ง ชนทั้งหลายย่อมชัดไป คือ หว่านพิซลงในที่นี่ เหตุนี้ ที่ชิ่งชื่อว่า นา, ได้แก่มี่อนนา