การเข้าใจธรรมและลาภในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 98
หน้าที่ 98 / 174

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาทางธรรมนี้ชี้ให้เห็นถึงธรรมที่เกี่ยวข้องกับลาภและความเสื่อมลาภ โดยพระอรหัตดาจารย์ได้กล่าวถึงแนวคิดที่ว่า เมื่อวัตถุมีของกินและเครื่องปิดเป็นต้นจะถูกมองว่าคือ 'ลาภ' ในขณะที่การไม่มีก็ถือว่าเป็น 'เสื่อมลาภ' ซึ่งอารมณ์ของความยินดีสามารถเกิดขึ้นจากการมีหรือไม่มีวัตถุดังกล่าว พระอรหัตดาจารย์เตือนให้ทราบว่า ธรรมทั้งหลายไม่สามารถหมุนกลับจากโลกได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังพูดถึงโลภธรรมที่เกิดขึ้นจากลาภและเสื่อมลาภ และวิธีที่ธรรมเหล่านี้มีผลต่อจิตใจและอารมณ์ของเราในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนา
-ลาภและเสื่อมลาภ
-ธรรมและจิตใจ
-พระอรหัตดาจารย์
-โลภธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- มังสิกัตตาในนี้เป็นแปล เล่ม ๕ หน้า ๙๙ ได้แก่ ย่อมไม่กลับจากธรรมเหล่านั้น สองพูดว่า ลาภ อลโก ความว่า เมื่อถามถึงแล้ว ความเสื่อมจากบิดผิงทรายบวก ก็ถึง เหมือนกัน. แม้ในบททั้งสามบิบว่า ยส เป็นต้น ก็ฉนี้เหมือนกัน." [๕๕๕] ภิกษาโลภธรรมสูตรเป็นต้นนั้นว่า "ธรรมอันจะเห็นแท้ แก่สัตว์โลก ชื่อว่าธรรมสำหรับโลก. ด้วยเหตุนี้ พระอรหัตดาจารย์ จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า "ผู้ชื่อว่าพ้นจากธรรมทั้งหลายก็ย่อมไม่มี." การได้ของกินและเครื่องปิด (งูงม) เป็นต้น ชื่อว่า ลาภ อีก อย่างหนึ่ง วัตถุมีของกินและเครื่องปิดเป็นต้นเหล่านี้ ชื่อว่า ลาภ เพราะเป็นวัตถูอุปบุคคลพึงได้. ความไม่มีแห่งวัตถุของกินและเครื่อง ปิดเป็นต้นนั้น ชื่อว่า เสื่อมลาภ. ก็ บรรดาลาภและเสื่อมลาภทั้ง ๒ นี้ ความยินดีนี้มีลาคณะนั้นเป็นอารมณ์ พระอรหัตดาจารย์อธิบายว่า ลาภ คืพ์ศัพท์ ความยินดีนั้นมีความเสื่อมลาภเป็นอารมณ์ ท่านก็เอาด้วย อาลก ศัพท์. เพราะเมื่อความยินดีมีอยู่ ความยินร้ายก็ได้โอกาส (ที่จะเกิดขึ้น) เหมือนกัน ประดุจว่าเมื่อเลือดคิม เมื่อก็ดีมี ด้วย สามารถแห่งความช้ำเลือดนะนั้น, เพราะฉะนั้น พระอรหัตดาจารย์ จึงกล่าวว่า "ลาภ อาดต อโลเก อาโลโดยฺ" แม้ในโลกธรรม มยคป็นต้น ก็ฉนี้เหมือนกัน." ในอรรถกถามงคลสูตรนี้ พระอรหัตดาจารย์ก็กล่าวไว้เพียงเท่านี้ แลว่า "ธรรมทั้งหลายในโลก ชื่อว่า โลภธรรม. มีอธิบายที่ท่าน กล่าวไว้ว่า "โลภยเป็นไปตราบใด, ธรรมทั้งหลายมิหมุนกลับ (จากโลก) ตราบนั้น."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More