ความเห็นเกี่ยวกับจิตและอารมณ์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 100
หน้าที่ 100 / 174

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้มีการพูดถึงจิตและธรรมชาติของมัน โดยยกคำถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับอารมณ์ รวมถึงการแบ่งประเภทของการยึดอารมณ์เป็น 3 ส่วน ได้แก่ สญชานน, วิชชานหน้า และ ปญฺหา. จิตถูกนิยามว่าเป็นศัพท์ที่รวมถึงความรู้สึกและความคิดและมีอิทธิพลต่อการเข้าใจอารมณ์ในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- ธรรมชาติของจิต
- ความแตกต่างของความคิดและความรู้สึก
- การยึดอารมณ์
- วิญญาณและปัญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๙ - มงคลดลที่ป็นแปล เล่ม ๔ หน้า 100 อารมณ์ เหตุฉนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า จิต. จิตนี้ นั้น ด้วยสามารถเป็นบทธไปแห่งจิตทั้งปวง. ในอภิธรรแห่ง จิตนี้ พึงมีคำถามว่า 'เพราะเหตุไร พระอาจารย์ แม้กล่าวว่ ว่า 'ธรรมชาติใด ย่อมคิดอารมณ์ เหตุฉนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า จิต' ดังนี้แล้ว ยังกว่า 'อธิบายว่า ย่อมรู้แจ้ง (ซึ่งอารมณ์) ดังนี้แล้ว?' ความคิดและความรู้สึก มีสภาพต่างกันมิใช่หรือ? ด้วยว่า บทว่า จินตนต์ จะสำเร็จความว่า 'อยู่งิ้งแจ้ง' ไม่ได้เลย, เพราะบุคคลผู้รวม ปัญญา ถึงคิดอยู่โดยประการต่าง ๆ ก็จะบรรลุอารมณ์สมุทไม่ใด้. พิพเพลว่า ข้อดังนี้จริง (แต่) บทว่า วิชชานิติ นี้ ท่านกล่าวไว้ เพื่อแสดงการที่อัตคายอารมณ์อันพิเศษ เป็นกิเลิ้งสัญญาและปัญญา เพราะ จิตฺเจต เป็นศัพท์ทั่วไปให้เกิดทั้งปวง. จริงอยู่ ธรรมชาติใด ท่านเรียกว่า จิต. ธรรมชาตินั้นแล ชื่อว่า วิญญาณ; เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า วิญญาณ เพื่อจะเอาออรรถว่า รู้แจ้งแสดง การที่จิตยึดอารมณ์อันพิเศษเป็นกิเลิ้งสัญญาและปัญญา." ฐิติรามสังกัดว่า "ด้วยถนอมว่า วิญญาณ ท่านกล่าวว่า กิริยาที่จิต ยึดอารมณ์อันพิเศษเป็นกิเลิ้งสัญญาและปัญญา." อีกอย่างหนึ่ง อนุภิกาอ้างมณีสารมัญญสว่า "การยึดอารมณ์มี 3 คือ สญชานน (หมายรู้) ๑ วิชชานหน้า (รู้แจ้ง) ๑ ปญฺหา (รู้ชัด) ๑. ใน ๑ อย่างนั้น อย่างนั้น เป็นกิเลิ้งสัญญา, ที่ ๒ เป็น กิเลิ้งวิญญาณ, ที่ ๓ เป็นกิเลิ้งปัญญา, แต่ในบทว่า จินตนต์ นี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More