ความเศร้าโศกในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 5 หน้า 111
หน้าที่ 111 / 174

สรุปเนื้อหา

ในพระพุทธศาสนา การโศกหรือโทมนัสถูกกล่าวถึงว่าเป็นผลจากความเจ็บปวดภายในจิตใจ ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทรงสอนว่าความเศร้าใจเกิดจากเหตุที่มาจากการมีความอธิษฐานหรือการค้นหาทุกขธรรม ความเศร้าโศกภายในสามารถส่งผลกระทบต่อจิตใจของบุคคลที่มีอารมณ์เลื่อมล้ำหรือมีความทุกข์ โดยการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องนี้ในมหาสตัปปุฎฐานสูตรนั้นช่วยให้เข้าใจถึงการจัดการกับความเศร้าโศกและการเข้าถึงความสุขได้อย่างแท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ความเศร้าโศกในพระพุทธศาสนา
-โทมนัสกับอารมณ์
-การศึกษาในมหาสตัปปุฎฐานสูตร
-แนวทางการจัดการกับความเศร้าโศก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลดิถีเป็นเทป เล่ม ๕ - หน้า ๑๑๑ ถ้าหากด้วยจิตไม่โศก [๕๒๕] โทมนัส มีความพินาศเป็นต้นเป็นเหตุ ชื่อว่า โศกะ สมจริงดังพระพุทธพจน์ที่พระปัจเจกพุทธเจ้า ในมหาสตัปปุฎฐานสูตรว่า “ภิกษุทั้งหลาย คำวาิโกดเป็นไฉน ? ภิกษุทั้งหลาย ความโศก ความโศก ความเศร้าใจ ความแห้งใจ ความทุกข์ ณ ภายใน ความเศร้าโศก ณ ภายใน ของสัตว์ ผู้ประกอบด้วยความอธิษฐานอันใดอันหนึ่ง (และ ) ผู้ค้นทุกขธรรม อันใดอันหนึ่งก็ต้องแล้ว อันใดเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย เนรี่อเรียกวว่า ความโศก.” [๓๕๐] อรรถกถามหาสตัปุฎฐานสูตรว่า “ว่า พุทธะน คว่าว่า ด้วยอรรถคฤคลื่นมิคความเลื่อมมือความเลื่อมจาก อฏิเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง บทว่า ทุขสมุโน ได้แก่ อันแห่งทุกข์แห่ง ทุกข์การฆ่าและการอามเป็นต้น (ถูกต้องแล้ว ) บทว่า ผุอุณฺทสูส ได้แก๋า ทวามัน เก่า ท่วมทับ คือ ครอบงำแล้ว ความโศกอันนี้มีความเศร้าใจเป็น ลักษณะ ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคล ผู้มีอารมณ์เลื่อมมิคความเลื่อมฤทธิ เป็นต้น หรือหนุมทุกข์มีการฆ่าและการอาบิฐเป็นต้น อย่างใด อย่างหนึ่งมีอยู่ อนความเลื่อม หรือเหตุแห่งทุกข์นั้นครอบงำแล้ว ชื่อว่า โศก ความแห้งใจชื่อว่า โโลจิตตุติ. ก็เพราะความโศกนั่นเองภายใน ให้หดอัน แห่งให้แห้งเกิดขึ้น เหตุนี้นั่น พระผู้พระภาคจึงตรัสเรีกว่า ความแห้งผาก ณ ภายใน ความเศร้าโศก ณ ภายใน วิภาคมหาสตัปุฎฐานสูตรนั้นว่า “ว่า พุทธน ได้แก๋ * พระธรรมปาโมกข (วิน ธมมสาริโป ม.ธ.๖) วัดราชบพิตรกรม แปล. บันทึเป็น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ๑. ที่ มหา.๑๐/๑๓๔. ๒. ส. วิ. ๒/๕๘.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More