ข้อความต้นฉบับในหน้า
ดาราจักรด้วยความเร็วต่างกันตามระยะทาง พวกที่อยู่ใกล้แกนจะมีความเร็วมาก โดยใจกลาง
ของดาราจักรจะมีดาวฤกษ์อยู่เป็นจำนวนมากและจะเริ่มน้อยลงเมื่ออยู่บริเวณขอบของดาราจักร
นักวิทยาศาสตร์เรียกกาแล็กซีของเราว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky way Galaxy)
กาแล็กซีของเรามีลักษณะเป็นจานแบนๆ ตรงกลางเป็นทรงกลม และมีแขนเป็นเกลียวคล้าย
ก้นหอยหรือกังหันหมุนอยู่รอบศูนย์กลาง ระบบสุริยะของเรามีตำแหน่งอยู่ตรงแขนของดาราจักร
หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์มีเครื่องมือที่ทันสมัยยิ่งขึ้น
ต้นสมัยยิ่งขึ้น ก็ค้นพบว่า กาแล็กซีที่มีอยู่นี้ไม่ได้
มีอยู่เพียงกาแล็กซีเดียว แต่ยังมีกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เคียงอีกด้วย ในปัจจุบันค้นพบว่า มีกาแล็กซีที่
-100,000 Light Years
อยู่ใกล้ ๆ กับกาแล็กซีของเรา ชื่อว่า
กาแล็กซีอันโดรเมดา และกาแล็กซี
แมกแจลแลน และยังค้นพบต่อไปว่ามี
Sun
(Approx.
Position)
Central Bulge
จำนวนกาแล็กซีมากมายรวมตัวเป็น
กลุ่มขนาดใหญ่ กลุ่มของกาแล็กซีเหล่านี้
รวมกันเป็นเอกภพหรือเรียกว่า Universe
นักวิทยาศาสตร์คำนวณว่า ในเอกภพ
Nucleus.
หนึ่ง ๆ อาจจะมีจำนวนกาแล็กซีมากกว่า
หนึ่งร้อยพันล้านกาแล็กซี
Photograph @ Anglo-Australian Observatory
รูปที่ 4-1 ภาพกาแล็กซีทางช้างเผือก(ด้านบน)
halo.
bulge
Sun's location
disk
28,000 light-years
globular clusters
1,000 light-years
100,000 light-years-
รูปที่ 4-2 ภาพกาแล็กซีทางช้างเผือก (ด้านข้าง)
1
Mackie, Glen (February 1, 2002). To see the Universe in a Grain of Taranaki Sand. Swinburne University.
Retrieved on 2006-12-20.
68 DOU สมาธิ 8 วิปัสสนากัมมัฏฐาน