ข้อความต้นฉบับในหน้า
3. มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม เช่นเห็นว่า พ่อแม่ไม่มีพระคุณ เห็นว่า
บุญบาปไม่มี เห็นว่าโลกนี้โลกหน้าไม่มี เป็นต้น ไม่เพียงแต่ไม่รู้เท่านั้น ยังคิดผิดเห็นผิดอีกด้วย
เป็นขั้นกรรม คือ มโนกรรม
โกง
ลัก-คู่
พยาบาท
(คิดแก้แค้น)
โทสะ
(คิดประทุษร้าย)
มิจฉาทิฏฐิ
(เห็นผิดคลองธรรม)
โมหะ(หลง ไม่รู้จริง)
อิสสา ริษยา) ปลาสะ(ตีเสมอ)
อภิชฌา
(เพ่งเล็งเอาของเขา)
โลภะ
(อยากได้ทางทุจริต)
ปาปิจฉา
(อยากได้โดยวิธีเลวๆ)
มหิจฉา
(มักมาก)
กามฉันทะ
(ชอบใจในกาม)
โกธะ
(เดือดดาล)
5. กามราคะ
อุปนาทะ
(ผูกโกรธ)
6. รูปราคะ
4. ปฏิฆะ
มายา(เจ้าเล่ห์)
สาเถยยะ(อวดดี)
ถัมภะ(หัวดื้อ)
ปมาทะ(เลินเล่อ)
2. วิจิกิจฉา
3.
สีลัพพตปรามาส
1. สักกายทิฏฐิ
7. อรูปราคะ
8. มานะ
9. อุทธัจจะ
10. อวิชชา
ภาพที่
2-1 เหง้ากิเลส
คําอธิบายภาพ
เหง้าซ้ายสุด เป็นพวกความชั่วร้าย ที่มุ่งไปในทางกอบโกยเข้าหาตัว หวงแหน สะสม
ยึดถือว่าเป็นของตัว
เหง้ากลาง เป็นพวกความชั่วร้าย ที่มุ่งไปในทางล้างผลาญ ทำจิตให้วินาศวอดวาย นี่เป็น
ตระกูลโทสะ เล็กกว่าทุกเหง้า แล้วถ้าดูตามลงไปถึงที่สุดของเหง้า พบว่า เหง้าโทสะนี้แยกออก
จากเหง้าโลภะนั่นเอง เพราะความโกรธย่อมเกิดจากความอยากได้เวลาพระอริยเจ้าท่านละกิเลส
ปรากฏว่าพวกสายโทสะนี้หลุดไปก่อน ตามหลักว่าพระอนาคามีละได้หมด ส่วนอีกสองสายไป
ตัดขาดเอาขั้นอรหัตมรรค
34 DOU สมาธิ 8 วิ ปั ส ส น า กัมมัฏฐาน