ข้อความต้นฉบับในหน้า
การที่ความสงบสุขอันเกิดจากการตัดกิเลสได้เป็นไปยั่งยืน ไม่ต้องคอยระวังเพื่อไม่ให้
เกิดขึ้นอีกนั่นเอง คือ นิพพาน แปลว่า ความดับสนิท เย็นสนิท
ที่กล่าวนี้เป็นกระบวนการของอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ 8 ซึ่งเป็นปฏิปทานำไปสู่
ความดับทุกข์ หรือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
9.4 กิจในอริยสัจ 4
กิจ คือ หน้าที่ในอริยสัจ 4 ข้อใดมีหน้าที่อย่างไร รวมเรียกว่า ไตรปริวัฏ ทวาทสาการ
แปลว่า 3 รอบ 12 อาการ หมายถึง ญาณ 3 ในอริยสัจ 4
ผู้รู้อริยสัจ 4 ที่เรียกว่ารู้จริง รู้แล้วพ้นทุกข์ได้ ต้องรู้ประกอบด้วยญาณ 3 อาการ 12 นี้
ที่คนสามัญรู้นั้นเป็นความจำ ไม่ใช่ความรู้ที่แท้จริง ยังปฏิบัติตามที่รู้ไม่ได้
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระมหากรุณา ตรัสเทศนาโพธิปักขิยธรรม ปฏิจจสมุปบาท
และอริยสัจ 4 ธรรมทั้ง 3 นี้มีอรรถเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ประดุจดังดุมเกวียนกำเกวียน
และกงเกวียน จึงได้ชื่อว่า พระธรรมจักร
แผนญาณ 3 หรือรอบ 3 อาการ 12 ในอริยสัจ 4
สัจจญาณ
กิจจญาณ
กตญาณ
ยอมรับว่าความทุกข์แห่งชีวิตมีอยู่ รู้ว่าความทุกข์เป็นสิ่งที่กำหนด รู้ว่าได้กำหนดรู้แล้ว
ทุกข์ | จริง ชีวิตคลุกเคล้าไปด้วยความ ความรู้ คือ ควรทำความเข้าใจ หรือทำความเข้าใจแล้ว
สมุทัย
ทุกข์จริง
(ปริญเญยยธรรม)
ยอมรับว่าสมุทัยคือตัณหาเป็นเหตุ รู้ว่าสมุทัยคือตัณหา เป็นสิ่งควร รู้ว่าละได้แล้ว
ให้เกิดทุกข์จริง
ละไปหาตัพพธรรม)
ยอมรับว่านิโรธคือความทุกข์มี รู้ว่านิโรธควรทำให้แจ้งขึ้น รู้ว่าได้ทำให้แจ้งแล้ว
นิโรธ อยู่จริง ความทุกข์สามารถดับ ในใจ(สัจฉิกาตัพพธรรม)
มรรค
ได้จริง โดยผ่านทางการดับตัณหา
ยอมรับว่ามรรคมีองค์ 8 เป็นทาง รู้ว่ามรรคเป็นสิ่งที่ควรอบรมบำเพ็ญ รู้ว่าได้เจริญอบรมให้
นำไปสู่ความดับทุกข์จริง
ให้เกิดมี(ภาเวตพพธรรม)
1 ธัมมจักกัปปวัตนสูตร วินัยปิฎก มหาวรรค, มก. เล่ม 6 ข้อ 16 หน้า 47.
เต็มที่แล้ว
บ ท ที่ 9 อ ริ ย สั จ 4
DOU 191