การฝึกใจให้หยุดนิ่ง ง่ายแต่ลึก 2 หน้า 251
หน้าที่ 251 / 416

สรุปเนื้อหา

ในกระบวนการฝึกใจให้หยุดนิ่ง ความสม้ำเสมอมีความสำคัญอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้เรามีการเรียนรู้ที่ถูกต้องและสามารถปรับตัวได้ เมื่อเราฝึกฝน หลักการที่ต้องคำนึงถึงคือการหยุดนิ่ง ซึ่งจะนำไปสู่การซื้อความตระหนักรู้และความสงบในใจ การฝึกฝนในการอยู่กับความรู้สึกของร่างกาย อย่างกต่างการจดจ้องไปที่จิตใจและสเปซตรงกลางของร่างกาย นำไปสู่ความชำนาญและการอยู่กับความรู้สึกตัวนานขึ้น ทำให้เรามีพัฒนาการทางจิตใจและสามารถเผชิญกับความรู้สึกได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

หัวข้อประเด็น

-การฝึกใจ
-ความสำคัญของความสม้ำเสมอ
-การอยู่กับตัวเอง
-ความหยุดนิ่ง
-การพัฒนาจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ความสม้ำเสมอนี้สำคัญ จะทำให้เราค่อย ๆ เรียนรู้วิธีการที่ถูกต้อง มันจะค่อย ๆ ปรับไป ใจเราก็จะถูกบ่มนิทรีให้เกราะขึ้น แก่กล้าขึ้นไปเรื่อย ๆ คือใจจะค่อย ๆ คุ้นกับศูนย์กลาง กายกับกลางท้องมากขึ้น แล้วก็อยู่กับเนื้อกับตัวเราได้มากขึ้น นานขึ้นกว่าเดิม เพราะแต่เดิมเรา ส่งไปข้างนอกไม่เคยเอาใจไว้กลางกายเลย นี่สำหรับผู้ที่มาใหม่ะ เราก็ต้องฝึกไปเรื่อย ๆ ใหม่ ๆ มันก็ไม่คุ้นเคยกับนักอย่างนี้ในกลางท้อง แต่พอทำน่อย ๆ เขา มันก็จะค่อย ๆ ง่ายขึ้น ชำนาญขึ้นไปเรื่อย ๆ แต่ต้องจับหลักให้ได้ว่า หยุดเป็นตัวสำเร็จ เป็นสิ่งสำคัญที่สุด เราต้องการตรงนี้ หยุดนิ่งเฉย ๆ ไม่ว่าจะมีหรือสว่างก็ตาม หมายความว่า เวลาราก็จะไปแล้วมันมีด เราก็อย่าไปทุกข์ อย่าไปรำคาญว่า ทำไมมันมีดอย่างนี้ หรืออย่าไปกลัวกลัวเรานั่ง แล้วมันจะไม่สว่าง แล้วก็คิดเลยเถิดไปว่า ชาตินี้เราคงไม่ได้มั้ง อย่างนั้นแสดงว่าไม่มึงแล้ว ถ้านิ่งมันจะปลอดความคิด หลับตาแล้วมีด เราก็ต้องถือว่า ความดีคือหลายหรือเกลอของเรา เป็นมิตรของเรา เหมือนเรานั่งอยู่กลางแจ้งในคืนเดือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More